Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/37846
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อรพิณ สันติธีรากุล | - |
dc.contributor.author | ติยาภรณ์ คุ้มคำ | en_US |
dc.date.accessioned | 2015-03-05T10:18:23Z | - |
dc.date.available | 2015-03-05T10:18:23Z | - |
dc.date.issued | 2014-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/handle/6653943832/37846 | - |
dc.description.abstract | การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันของพนักงาน ฝ่ายผลิต บริษัท อินเด็กซ์ อินเตอร์เฟิร์น จำกัด สาขาเอกชัย และเพื่อศึกษาระดับของความผูกพันของพนักงานฝ่ายผลิต บริษัท อินเด็กซ์ อินเตอร์เฟิร์น จำกัด สาขาเอกชัย โดยทำการศึกษาจากพนักงานฝ่ายผลิตเฉพาะบุคคลที่มีสัญชาติไทย ของบริษัท อินเด็กซ์ อินเตอร์เฟิร์น จำกัด สาขาเอกชัย ซึ่งมีทั้งหมด 4 แผนก คือ แผนกผลิตเฟอร์นิเจอร์ไม้ แผนกผลิตเฟอร์นิเจอร์ไม้ (ตามสั่งโครงการ) แผนกผลิตโซฟาและแผนกผลิตงานที่นอน ซึ่งมีจำนวนทั้งหมด 287 ราย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ประกอบด้วย การแจกแจงความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) และค่าเฉลี่ย (Mean) รวมทั้งการใช้สถิติเชิงอ้างอิง (Inferential Statistics) ประกอบด้วย การจัดข้อมูลในรูปแบบตารางไขว้ (Cross - Tabulation) และการวิเคราะห์สมการถดถอยแบบเส้นตรง (Linear Regression) ผลการศึกษาพบว่าพนักงานส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 32 – 45 ปี ระดับการศึกษา ประถมศึกษาปีที่ 6 หรือต่ำกว่า มีระยะเวลาในการทำงาน ใน บริษัท อินเด็กซ์ อินเตอร์เฟิร์น จำกัด สาขาเอกชัย อยู่ในช่วง 2 – 3 ปี เป็นพนักงานแผนกผลิตเฟอร์นิเจอร์ไม้ และมีอัตราค่าจ้างรายวันในช่วง 316 - 330 บาท ระดับความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน บริษัท อินเด็กซ์ อินเตอร์เฟิร์น จำกัด สาขาเอกชัย อยู่ในระดับผูกพัน (Engaged) โดยพนักงานมีระดับความผูกพันต่อองค์ประกอบของความผูกพันโดยรวมอยู่ในระดับผูกพันมากในทุกด้าน เรียงลำดับคือ ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์มากที่สุด รองลงมาคือ ด้านองค์การและด้านภาวะผู้นำมีค่าเฉลี่ยเท่ากัน สุดท้ายคือด้านงาน ส่วนด้านความผูกพันต่อองค์การของพนักงานในภาพรวมอยู่ในระดับผูกพันมากเช่นกัน และองค์ประกอบของความผูกพันที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์การอย่างมีนัยสำคัญ ได้แก่ องค์ประกอบด้านภาวะผู้นำและด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ความผูกพันต่อองค์การของพนักงานฝ่ายผลิตบริษัทอินเด็กซ์ อินเตอร์เฟิร์น จำกัด สาขาเอกชัย | en_US |
dc.title.alternative | Employee engagement of manufacturing staff towards Index Interfurn Company Limited, Ekachai Branch | en_US |
thailis.classification.ddc | 658.314 | - |
thailis.controlvocab.thash | บริษัทอินเด็กซ์ อินเตอร์เฟิร์น จำกัด | - |
thailis.controlvocab.thash | ความผูกพันต่อองค์การ | - |
thailis.controlvocab.thash | ความภักดีของลูกจ้าง | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว 658.314 ต362ค | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันของพนักงาน ฝ่ายผลิต บริษัท อินเด็กซ์ อินเตอร์เฟิร์น จำกัด สาขาเอกชัย และเพื่อศึกษาระดับของความผูกพันของพนักงานฝ่ายผลิต บริษัท อินเด็กซ์ อินเตอร์เฟิร์น จำกัด สาขาเอกชัย โดยทำการศึกษาจากพนักงานฝ่ายผลิตเฉพาะบุคคลที่มีสัญชาติไทย ของบริษัท อินเด็กซ์ อินเตอร์เฟิร์น จำกัด สาขาเอกชัย ซึ่งมีทั้งหมด 4 แผนก คือ แผนกผลิตเฟอร์นิเจอร์ไม้ แผนกผลิตเฟอร์นิเจอร์ไม้ (ตามสั่งโครงการ) แผนกผลิตโซฟาและแผนกผลิตงานที่นอน ซึ่งมีจำนวนทั้งหมด 287 ราย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ประกอบด้วย การแจกแจงความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) และค่าเฉลี่ย (Mean) รวมทั้งการใช้สถิติเชิงอ้างอิง (Inferential Statistics) ประกอบด้วย การจัดข้อมูลในรูปแบบตารางไขว้ (Cross - Tabulation) และการวิเคราะห์สมการถดถอยแบบเส้นตรง (Linear Regression) ผลการศึกษาพบว่าพนักงานส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 32 – 45 ปี ระดับการศึกษา ประถมศึกษาปีที่ 6 หรือต่ำกว่า มีระยะเวลาในการทำงาน ใน บริษัท อินเด็กซ์ อินเตอร์เฟิร์น จำกัด สาขาเอกชัย อยู่ในช่วง 2 – 3 ปี เป็นพนักงานแผนกผลิตเฟอร์นิเจอร์ไม้ และมีอัตราค่าจ้างรายวันในช่วง 316 - 330 บาท ระดับความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน บริษัท อินเด็กซ์ อินเตอร์เฟิร์น จำกัด สาขาเอกชัย อยู่ในระดับผูกพัน (Engaged) โดยพนักงานมีระดับความผูกพันต่อองค์ประกอบของความผูกพันโดยรวมอยู่ในระดับผูกพันมากในทุกด้าน เรียงลำดับคือ ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์มากที่สุด รองลงมาคือ ด้านองค์การและด้านภาวะผู้นำมีค่าเฉลี่ยเท่ากัน สุดท้ายคือด้านงาน ส่วนด้านความผูกพันต่อองค์การของพนักงานในภาพรวมอยู่ในระดับผูกพันมากเช่นกัน และองค์ประกอบของความผูกพันที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์การอย่างมีนัยสำคัญ ได้แก่ องค์ประกอบด้านภาวะผู้นำและด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ | en_US |
Appears in Collections: | BA: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.pdf | ABSTRACT | 222.11 kB | Adobe PDF | View/Open |
APPENDIX.pdf | APPENDIX | 709.53 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 1.pdf | CHAPTER 1 | 193.41 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 2.pdf | CHAPTER 2 | 212.76 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 3.pdf | CHAPTER 3 | 202.39 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 4.pdf | CHAPTER 4 | 952.19 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 5.pdf | CHAPTER 5 | 241.88 kB | Adobe PDF | View/Open |
CONTENT.pdf | CONTENT | 173.79 kB | Adobe PDF | View/Open |
COVER.pdf | COVER | 652.18 kB | Adobe PDF | View/Open |
REFERENCE.pdf | REFERENCE | 182.74 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.