Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39444
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ผศ.ดร.ชูเกียรติ ชัยบุญศรี | - |
dc.contributor.advisor | อ.ดร.จารึก สิงหปรีชา | - |
dc.contributor.author | นิธิวิทย์ กันทะษา | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-07-22T09:32:25Z | - |
dc.date.available | 2016-07-22T09:32:25Z | - |
dc.date.issued | 2015-11 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39444 | - |
dc.description.abstract | The aim of this study is to examine the direct effect, indirect effect, and induce effect on output, income, and employment rate by using a multiplier model, if government expenditure was increased by changes in the indirect tax policy (Value Added Tax) from 7% to 10%, and to examine the forward and backward linkage of the manufacturing sector. To examine the effect of output, income, and employment rate the scenario was created in which the margin of government revenue was assumed to be equal to government expenditure to 16 manufacturing sectors on the Input – Output Model. The result of this study shows that when the government increases their expenditure to 16 manufacturing sectors, the output of 3 sectors most effected are Services, Rubber Chemical and Petroleum Industries and Public Utilities. For income effect, the sectors were effected the most are the same as output effect. The 3 sectors which have the most employment effect are Services, Other Manufacturing Transportation, and Communication The result of forward and backward linkage analysis are as followed; the highest value of forward linkage index are from Metal Products and Machinery, Rubber Chemical, and Petroleum Industries. And the highest value of backward linkage index are from Metal Products and Machinery, Other Manufacturing, and Unclassified. From the result of this study, policy makers can use the information from this study to decide and plan to support 16 types of manufacturing from the effect of the increasing of final demand or expenditure such as making a policy rule to support the increase of output, promoting saving by issuing government bonds and importing labor from foreign countries to support the increase of employment rate. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงภาษีมูลค่าเพิ่มที่มีต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยโดยใช้แบบจำลองปัจจัยการผลิตและผลผลิต | en_US |
dc.title.alternative | An Impact Analysis of Value Added Tax Changes on the Thai Economy Using Input – Output Model | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้เป็นการวิเคราะห์ผลกระทบของการขยายตัวของอุปสงค์ขั้นสุดท้ายในภาครัฐบาลอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงการเก็บอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มจากเดิมร้อยละ 7 เป็นร้อยละ 10 โดยจำลองสถานการณ์ซึ่งกำหนดให้ร้อยละของรายได้ที่เพิ่มขึ้นจากการเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราใหม่มีค่าเท่ากับการขยายตัวของอุปสงค์ขั้นสุดท้าย การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบทางตรง ทางอ้อม และผลกระทบของการชักนำ (Direct, Indirect, Induced effect) ต่อผลผลิต รายได้ และการจ้างงาน โดยใช้ตัวแบบทวีคูณ และวิเคราะห์ดัชนีความเชื่อมโยงไปข้างหน้าและข้างหลัง(Forward, Backward linkage) ของสาขาการผลิตทั้ง 16 สาขาการผลิต ผลการศึกษาพบว่าเมื่ออุปสงค์ขั้นสุดท้ายของภาครัฐบาลที่มีต่อสาขาการผลิตเพิ่มขึ้นทำให้ผลผลิตของสาขาการบริการ อุตสาหกรรมยางเคมีปริโตรเลียม และสาธารณูปโภค นั้นเพิ่มขึ้นมากที่สุด 3 อันดับแรก ทางด้านรายได้นั้นสาขาการผลิตที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด 3 อันดับแรกนั้นเป็นสาขาการผลิตเดียวกับผลกระทบก่อนหน้า ในส่วนของผลกระทบต่อการจ้างงานสาขาการผลิตที่ได้รับผลกระทบต่อการจ้างงานมากที่สุด 3 อันดับแรกได้แก่ สาขาการบริการ อุตสหากรรมการผลิตต่างๆ และการขนส่งและคมนาคม ความเชื่อมโยงพบว่าสาขาการผลิตที่มีค่าความเชื่อมโยงไปข้างหน้ามากที่สุด 3 อันดับแรกได้แก่ โลหะผลิตภัณฑ์โลหะและเครื่องจักร อุตสาหกรรมยางเคมีปริโตรเลียม และการทำเหมืองแร่และเหมืองหิน ความเชื่อมโยงไปข้างหลังสาขาการผลิตที่มีค่าความเชื่อมโยงไปข้างหลัง 3 อันดับแรกได้แก่ สาขาโลหะผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักร อุตสาหกรรมการผลิตอื่นๆ และกิจกรรมอื่นๆ จากผลการศึกษาในครั้งนี้ทำให้ผู้กำหนดนโยบายสามารถนำข้อมูลที่ได้จากผลการศึกษาในครั้งนี้ไปใช้เป็นข้อมูลในการประกอบการตัดสินใจและวางแผนรองรับผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในสาขาการผลิตทั้ง 16 สาขาการผลิต เช่นการกำหนดนโยบายการวางแผนต่อผลผลิตที่เพิ่มขึ้นจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจ การส่งเสริมการออมให้กับประชาชนในสาขาการผลิตต่างๆเนื่องจากการขยายตัวของเศรษฐกิจทำให้ประชาชนในสาขาการผลิตมีรายได้เพิ่มมากขึ้น และนโยบายการนำเข้าแรงงานจากต่างประเทศเพื่อรองรับการขยายตัวของเศรษฐกิจที่จะส่งผลให้เกิดการจ้างงานเพิ่มขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | ECON: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.docx | Abstract (words) | 173.72 kB | Microsoft Word XML | View/Open |
ABSTRACT.pdf | Abstract | 241.36 kB | Adobe PDF | View/Open |
FULL.pdf | Full IS | 3.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.