Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80114
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมเกียรติ อินทสิงห์ | - |
dc.contributor.advisor | ศักดา สวาทะนันทน์ | - |
dc.contributor.author | พัชราภรณ์ คำโพธิ์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-10-21T10:57:06Z | - |
dc.date.available | 2024-10-21T10:57:06Z | - |
dc.date.issued | 2024-07-27 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80114 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this study were 1) to design and assess the learning management plan in the competency-based local curriculum Mae Taeng Path to enhance communication and occupational competencies of grade 7 students, 2) to compare the levels of communication competence of grade 7 students before and after learning using the competency-based local curriculum Mae Taeng Path, and 3) to compare the levels of occupational competencies of grade 7 students before and after learning using the competency-based local curriculum Mae Taeng Path. The research sample consisted of 36 grade 7 students from Maetang School, in the second semester of academic year 2023, and they were selected by cluster random sampling. The research tools employed in the experiment included a learning management plans in competency-based local curriculum Mae Taeng Path. Data collection tools encompassed communication competency assessment form and occupational competency assessment form. The data were analyzed by means, standard deviations, and t-test. The study findings were summarized as follows: 1) the 14 learning management plans totaling 20 hours within the learning management plan in the local competency-based local curriculum Mae Taeng Path to enhance communication and occupational competencies of grade 7 students, were found to be of the highest propriety level. 2) the communication competencies of students after using the local competency-based local curriculum Mae Taeng Path unit were significantly higher than before at a statistically significant level of .01, and 3) the occupational competencies of students after using the local competency-based local curriculum Mae Taeng Path unit were significantly higher than before at a statistically significant level of .01. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ผลการใช้หลักสูตรท้องถิ่นฐานสมรรถนะวิถีแม่แตงที่มีต่อสมรรถนะการสื่อสารและสมรรถนะด้านอาชีพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 | en_US |
dc.title.alternative | Effects of using competency-based local curriculum Mae Taeng Path on communication and occupational competencies of grade 7 students | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | การศึกษา -- หลักสูตร | - |
thailis.controlvocab.thash | การสื่อสาร | - |
thailis.controlvocab.thash | การแนะแนวอาชีพ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อออกแบบและประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ในหลักสูตรท้องถิ่นฐานสมรรถนะวิถีแม่แตงเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการสื่อสารและสมรรถนะด้านอาชีพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับสมรรถนะการสื่อสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนและหลังเรียนโดยใช้หลักสูตรท้องถิ่นฐานสมรรถนะวิถีแม่แตง และ 3) เพื่อเปรียบเทียบระดับสมรรถนะด้านอาชีพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนและหลังเรียน โดยใช้หลักสูตรท้องถิ่นฐานสมรรถนะวิถีแม่แตง ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาในครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนแม่แตง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 36 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ แผนการจัดการเรียนรู้ในหลักสูตรท้องถิ่นฐานสมรรถนะวิถีแม่แตง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบประเมินสมรรถนะการสื่อสาร และแบบประเมินสมรรถนะด้านอาชีพ โดยนำผลข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติทดสอบที ผลการศึกษา พบว่า 1) แผนการจัดการเรียนรู้ในหลักสูตรท้องถิ่นฐานสมรรถนะวิถีแม่แตงเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการสื่อสารและสมรรถนะด้านอาชีพ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่สร้างขึ้นมีทั้งหมด 14 แผน รวม 20 ชั่วโมง ซึ่งมีคุณภาพด้านความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด 2) สมรรถนะการสื่อสารของนักเรียน หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้หลักสูตรท้องถิ่นฐานสมรรถนะวิถีแม่แตง สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 3) สมรรถนะด้านอาชีพของนักเรียนชั้น หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้หลักสูตรท้องถิ่นฐานสมรรถนะวิถีแม่แตง สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
การศึกษาค้นคว้าอิสระ พัชราภรณ์ คำโพธิ์_650232017.pdf | 6.8 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.