Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78684
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กิตติ ภูริทัต | - |
dc.contributor.advisor | กรรณิการ์ อินต๊ะวงศ์ | - |
dc.contributor.author | พิพิธธน โหมลา | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-08-22T01:21:55Z | - |
dc.date.available | 2023-08-22T01:21:55Z | - |
dc.date.issued | 2023-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78684 | - |
dc.description.abstract | Emerging infectious diseases are infectious diseases whose occurrence has recently increased during the past 20 years or incline to increase in the near future. These also include the diseases that newly emerge somewhere or have just spread to another place, as well as the ones that were previously controlled with antibiotics but have developed antimicrobial resistance. The examples of emerging infectious diseases are AIDS and MDR-TD. Re-emerging infectious diseases are infectious diseases that have once spread out in the past, became dormant for many years, and then came back again. The examples of re-emerging infectious diseases are Tuberculosis, Dengue fever, and Malaria. This research and development study aimed to develop a disease surveillance detection system for public health strategic information management from communicable diseases in Chiang Mai Province and to study the feasibility of a disease surveillance detection system for public health strategic information management from communicable diseases in Chiang Mai Province. The study was divided into 3 phases: 1) Situational analysis, 2) Implementation, and 3) Evaluation. The sample groups were selected using purposive sampling, including 1) Situational analysis sample group: 12 disease surveillance officers situated in Chiang Mai Province, and 2) Implementation and Evaluation sample group: 14 public health strategic information officers and personnel related to disease surveillance in Chiang Mai Province. The instrument used was a feasibility questionnaire on the use of a disease surveillance detection system for public health strategic information management from communicable diseases in Chiang Mai Province. As for the feasibility of using the disease surveillance detection system for public health strategic information management from communicable diseases in Chiang Mai Province, the public health strategic information officers rated most of the aspects moderate to highest. However, the ease of use on the appropriate use of color, form, and font size, and the data security on the error alert system were rated low. It is worth noting that the ease of use on the accuracy of menu data linking was rated high and highest only and had the highest frequency of comments of the program. Regarding the efficiency on concise and easy-to-understand data display, the score frequency was high, equaling to 71.4 percent, followed by data security on usage limit system according to the level of user rights which obtained a high score equaling to 64.3 percent, and usability on the program’s ease of use which obtained a high score equaling to 64.3 percent. When considering the feasibility of using COVID-19 data management support system of Chiang Mai Province among the personnel, it was found that the feasibility of using the system was rated from moderate to highest. In terms of the ease of use on the appropriate screen layout was rated the highest, equaling to 50.0 percent. Overall, most aspects were rated high, ranging from 58.3 to 70.8 percent, except for the data effectiveness and the appropriate program execution sequence which were rated moderate, high, and highest closely to each other and should be developed further. It could be seen that the score of the overall feasibility of using every program of COVID-19 data management support system of Chiang Mai Province ranged from moderate to highest. There might be some issues in each program that need to be developed and further improved. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | information management | en_US |
dc.subject | medical information systems | en_US |
dc.subject | surveillance | en_US |
dc.subject | Public Health | en_US |
dc.subject | Emerging Infectious Diseases | en_US |
dc.title | การพัฒนาระบบตรวจจับการเฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่/อุบัติซ้ำเพื่อการจัดการสารสนเทศด้านสาธารณสุขของจังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Development of surveillance system of emerging infectious diseases for information management in public health, Chiang Mai province | en_US |
dc.type | Thesis | - |
thailis.controlvocab.lcsh | โรคติดต่ออุบัติใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | สารสนเทศทางการแพทย์ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | โรคติดเชื้ออุบัติใหม่ (Emerging Infectious Diseases) โรคติดเชื้อชนิดใหม่ๆ ที่มีรายเพิ่มขึ้นในระยะประมาณ ๒0 ปีที่ผ่านมา หรือโรคติดเชื้อที่มีแนวโน้มที่จะพบมากขึ้นในอนาคตอันใกล้ รวมไปถึงโรคที่เกิดขึ้นใหม่ในที่ใดที่หนึ่ง หรือโรคที่เพิ่งจะแพร่ระบาดเข้าไปสู่อีกที่หนึ่ง และยังรวมถึงโรคติดเชื้อที่เคยควบคุมได้ด้วยยาปฏิชีวนะแต่เกิดการดื้อยา ตัวอย่างโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ เช่น โรคเอดส์ วัณโรคดื้อยา เป็นต้น และโรคติดเชื้ออุบัติซ้ำ (Re-emerging infectious Diseases) เป็นโรคคิดเชื้อที่เคยแพรระบาดในอดีต และสงบไปแล้วเป็นเวลานานหลายปี แต่กลับมาระบาดขึ้นอีก ตัวอย่างโรคติดเชื้ออุบัติซ้ำ เช่น วัณโรค ไข้เลือดออก และมาลาเรีย เป็นต้น การศึกษาในครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบวิจัยและพัฒนา (Research and Development) มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบตรวจจับการเฝ้าระวังโรคเพื่อการจัดการข้อมูลทางยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขจากโรคติดต่อในจังหวัดเชียงใหม่ และเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของระบบตรวจจับการเฝ้าระวังโรคเพื่อการจัดการข้อมูลทางยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขจากโรคติดต่อในจังหวัดเชียงใหม่ โดยแบ่งการศึกษาออกเป็น 3 ระยะ คือ 1) ระยะวิเคราะห์สถานการณ์ 2) ระยะดำเนินการ และ 3) ระยะประเมินผล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษานี้ คัดเลือกตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (purposive sampling) ประกอบด้วย 1) กลุ่มตัวอย่างในระยะวิเคราะห์สถานการณ์ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่งานระบาดวิทยา ในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 12 คน และ 2) กลุ่มตัวอย่าง ในระยะดำเนินการและประเมินผล คือ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานการจัดการข้อมูลทางยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขและบุคลากรในจังหวัดเชียงใหม่ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเฝ้าระวังและสอบสวนโรคติดต่อจำนวน 14 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามความเป็นไปได้ในการใช้งานระบบตรวจจับการเฝ้าระวังโรคเพื่อการจัดการข้อมูลทางยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขจากโรคติดต่อในจังหวัดเชียงใหม่ ผลของความเป็นไปได้ในการใช้งานระบบตรวจจับการเฝ้าระวังโรคเพื่อการจัดการข้อมูลทางยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขจากโรคติดต่อในจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งกลุ่มเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานการจัดการข้อมูลทางยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุข ได้ให้คะแนนความเป็นไปได้ส่วนใหญ่ของทุกด้าน อยู่ในช่วงตั้งแต่ระดับปานกลางถึงมากที่สุด ยกเว้นด้านความง่ายในการนำไปใช้ หัวข้อการใช้สี รูปแบบและขนาดตัวอักษรมีความเหมาะสม ปรากฏได้รับคะแนนระดับน้อยด้วย เช่นเดียวกับด้านความปลอดภัยของข้อมูล ในหัวข้อ ระบบแจ้งเตือนเมื่อเกิดข้อผิดพลาดในการทำงานที่ปรากฏได้รับระดับคะแนนน้อยด้วยเช่นกัน ทั้งนี้เป็นที่น่าสังเกตว่าในด้านความง่ายในการนำไปใช้ หัวข้อ การเชื่อมโยงข้อมูลแต่ละเมนูมีความถูกต้อง ได้รับคะแนนเฉพาะระดับมากและมากที่สุดเท่านั้น และความถี่ของระดับความคิดเห็นมากสุดต่อโปรแกรมนี้ ปรากฏในด้านประสิทธิภาพการทำงาน หัวข้อการแสดงผลข้อมูลอยู่ในรูปแบบที่สรุปและเข้าใจง่าย มีความถี่คะแนนระดับมาก สูงถึงร้อยละ 71.4 รองลงมาเป็นด้านความปลอดภัยของข้อมูล หัวข้อระบบจำกัดการใช้งานตามระดับสิทธิของผู้ใช้งาน ได้คะแนนระดับมากที่สุด ร้อยละ 64.3 และด้านการใช้งานในหัวข้อโปรแกรมฯ ง่ายต่อการใช้งาน ได้คะแนนระดับมาก ร้อยละ 64.3 เมื่อพิจารณาความเป็นไปได้ของการใช้ระบบสนับสนุนการบริหารจัดการข้อมูลโควิด 19 จังหวัดเชียงใหม่ ในกลุ่มบุคลากร พบว่า ความเป็นไปได้ของการใช้งานอยู่ในระดับปานกลางถึงมากที่สุด โดยด้านความง่ายในการนำไปใช้ การจัดวางส่วนต่าง ๆ บนหน้าจอมีความเหมาะสม มีความถี่ระดับมากสูงสุดถึงร้อยละ 50.0 โดยภาพรวมเกือบทุกหัวข้อมีคะแนนระดับมากในช่วงร้อยละ 58.3-70.8 ยกเว้นด้านประสิทธิผลของข้อมูล การจัดลำดับในการทำงานของโปรแกรมมีความเหมาะสม ที่มีระดับคะแนนปานกลาง มากและมากที่สุดใกล้เคียงกัน ควรพัฒนาในด้านนี้เพิ่มเติมต่อไป จะเห็นได้ว่าโดยภาพรวมความเป็นได้การใช้งานระบบสนับสนุนการบริหารจัดการข้อมูลโควิด 19 ในจังหวัดเชียงใหม่ในทุกโปรแกรม มีคะแนนอยู่ในระดับปานกลางถึงมากที่สุด อาจมีบางประเด็นในแต่ละโปรแกรมที่ยังต้องพัฒนา ปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
620131017-พิพิธธน โหมลา.pdf | 5.39 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.