Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78671
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อลงกรณ์ คูตระกูล | - |
dc.contributor.author | ณัฐกุล ขันทะสอน | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-08-21T01:08:33Z | - |
dc.date.available | 2023-08-21T01:08:33Z | - |
dc.date.issued | 2022-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78671 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research are as follows: 1. To study the roles in forest fire prevention and resolution and the process of cooperation between government, people, community, and private sectors in forest fire prevention and solution in the area of responsibility in Si Lanna National Park Area 2. To study the factors leading to the cooperation of the government, people, communities, community leaders affecting the management of forest fire prevention and solution in the area of Si Lanna National Park Area. This research is qualitative research using the interview form as a research tool Key informants are: Sheriff, the village headman and village headman in the and private sector agencies that support that participates in jointly managing forest fires in the area and the people total are 195. The results showed that Groups of stakeholders play a role in forest fire prevention and resolution in different areas. Sheriff, Kamnan and village headmen in the area superintendent play a role in the implementation of the project budget support and support personnel Building community networks, surveying, and coordinating with local authorities, survey area and presenting guidelines for solving forest fire problems, planning together with the community understanding and carry out the project. There are cooperation processes in forest fire prevention and resolution in areas of responsibility in the Sri Lanna National Park, namely 1) building understanding in the area 2) planning with the community 3) organizing reinforcements to support firefighters 4) Building a network for the community 5) Building cooperation from the private sector. Factors leading to the cooperation of the government, people, communities, community leaders in the area affecting the management of forest fire prevention and solution in the area of Sri Lanna National Park 1) Community cooperation 2) Leadership 3) Coordination and support in various fields of relevant agencies 4) Management systematically managed and 5) educational support | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การจัดการการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าในพื้นที่อุทยานแห่งชาติศรีลานนา จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Management of preventing and solving forest fire in Si Lanna National Park Area, Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | ไฟป่า -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | ไฟป่า – การป้องกันและควบคุม | - |
thailis.controlvocab.thash | อุทยานแห่งชาติศรีลานนา | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ในการวิจัยได้แก่ 1. เพื่อศึกษาบทบาทและกระบวนการความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ประชาชน ชุมชน ภาคเอกชน ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าในพื้นที่ความรับผิดชอบในพื้นที่อุทยานแห่งชาติศรีลานนา 2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่นำไปสู่ความร่วมมือของภาครัฐ ประชาชน ชุมชน ผู้นำชุมชนในพื้นที่ ที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าในพื้นที่อุทยานแห่งชาติศรีลานนา เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการวิจัย ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ นายอำเภอ กำนันและผู้ใหญ่บ้านในพื้นที่ หัวหน้าอุทยานหน่วยงานภาคเอกชนที่ร่วมสนับสนุน และราษฎรในชุมชน จำนวน 195 ราย ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีบทบาทในการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าในพื้นที่ที่แตกต่างกัน นายอำเภอ กำนันและผู้ใหญ่บ้านในพื้นที่ หัวหน้าอุทยาน มีบทบาทในการดำเนินโครงการ การสนับสนุนงบประมาน และสนับสนุนกำลังพล การสร้างเครือข่ายชุมชน การสำรวจ ประสานงานกับหน่วยงานในพื้นที่ ลงพื้นที่สำรวจ และนำเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาไฟป่าวางแผนร่วมกับชุมชน การสร้างความเข้าใจ และดำเนินโครงการ ภาคเอกชน สนับสนุนงบประมาณ ราษฎรในพื้นที่ให้ความร่วมมือในกิจกรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมีกระบวนการความร่วมมือในการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าในพื้นที่ได้แก่ 1) การสร้างความเข้าใจในพื้นที่ 2) การวางแผนร่วมกับชุมชน 3) การจัดกำลังเสริมเพื่อสนับสนุนเจ้าหน้าที่ดับไฟป่า 4) การสร้างเครือข่ายให้กับชุมชน 5) การสร้างความความร่วมมือจากภาคเอกชน | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631932022 ณัฐกุล ขันทะสอน.pdf | 1.77 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.