Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78362
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภราดร สุรีย์พงษ์-
dc.contributor.authorชนาธิป ตรงปัญญาโชติen_US
dc.date.accessioned2023-07-07T09:31:15Z-
dc.date.available2023-07-07T09:31:15Z-
dc.date.issued2022-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78362-
dc.description.abstractAcross data protection and cybersecurity laws, continue to have a substantive impact on healthcare data sharing (interoperability) rights between hospitals. Patients must give a medical history every single time before getting a cure such as congenital disease or allergic conditions. However, this information could be lost in time because of no record and not always active when needed. A healthcare provider can have your healthcare record, may share relevant information with family members or friends involved in your healthcare in certain circumstances without consent from the owners. What if patients can keep personal health records by themselves and be always accessible when needed. Even sharing a medical history requires permission from the owner to access. And all of the records are reliable data because the doctor or nurse is who records them. Blockchain gives patients access and control of their personal health records and its ability to store, create privacy and security for healthcare entities and patients alike. This review will look at access and control of their personal health records. Included the need for access to health information quickly and efficiently from anywhere made blockchain the perfect answer to security breaches. In addition, the advent of personal health records gives patients access and control of their records with an autonomy that had heretofore never been experienced. The result shown that 60% of 10 patients can access their medical history within 5 minutes, and 50% can understand what the requester wants the see and approve in each data. 60% of doctors can access patient’s medical history within 5 minutes.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการแบ่งปันข้อมูลและการคุ้มครองความเป็นส่วนตัวของเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ของผู้ป่วยนอกโดยใช้บล็อกเชนen_US
dc.title.alternativeData sharing and electronic medical record privacy protection of out-patient-department using blockchainen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.thashเวชระเบียน-
thailis.controlvocab.thashเวชระเบียน -- การประมวลผลข้อมูล-
thailis.controlvocab.thashระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ -- บริการทางการแพทย์-
thailis.controlvocab.thashบล็อกเชน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractด้วยนโยบายภายในและกฎหมาย ไม่สามารถแชร์ข้อมูลผู้ป่วยระหว่างสถานพยาบาล ผู้ป่วยต้องให้ข้อมูล และประวัติซ้ำซ้อน บ่อย ๆ อาทิเช่น โรคประจำตัว การแพ้ยา ข้อมูลเหล่านั้นมักจะสูญหาย เพราะไม่มีการบันทึก หรือมีการจัดเก็บที่ไม่สามารถ นำมาใช้งานได้อยู่ตลอดเวลา ผู้ควบคุมข้อมูล หรือผู้จัดเก็บข้อมูล สามารถเผยแพร่ข้อมูลโดยไม่ได้รับความยินยอม (Consent) หากทุก ๆ คน สามารถเป็นเจ้าของข้อมูลเหล่านั้น และสามารถเข้าถึงได้ตลอดเวลา อีกทั้งการเข้าถึงยังต้องได้รับการอนุมัติความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลที่แท้จริง ด้วยข้อมูลด้านสุขภาพ หรือทางการแพทย์นั้น จำเป็นต้องเป็นข้อมูลที่มีความถูกต้องครบถ้วนและน่าเชื่อถือเป็นอย่างมาก (Trusted data) เทคโนโลยี Blockchain สามารถการนำมาใช้เป็นระบบฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อจัดเก็บข้อมูลประวัติผู้ป่วยและเวชระเบียน (Personal Health Record) ที่ผู้ให้บริการด้านสาธารณสุขทุกรายสามารถแลกเปลี่ยนและนำข้อมูลเวชระเบียนไปใช้ประโยชน์ได้ โดยจะต้องเป็นมากกว่าการเก็บข้อมูลธรรมดา ซึ่งเทคโนโลยี Blockchain คำนึงถึงเรื่องความปลอดภัย ความเป็นส่วนตัว (Personal data) และความถูกต้องของข้อมูล จุดเด่นสำคัญของเทคโนโลยี Blockchain คือเรื่องความโปร่งใส และการปลอมแปลงข้อมูลที่ทำได้ยาก (Provenance and Integrity) เหมาะแก่การนำมาแก้ไขปัญหาในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ โดยการนำข้อมูลด้านสุขภาพให้ผู้ป่วยเป็นเจ้าของข้อมูลและเก็บรักษาไว้ที่ตัวผู้ป่วยเอง และข้อมูลที่จะถูกบันทึกลงไปนั้นได้ถูกบันทึกโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางนั้น ๆ ที่ได้ทำการรักษาผู้ป่วยโดยตรง ทำให้การแบ่งปันข้อมูลทางด้านสุขภาพนั้นถูกต้องแม่นยำ นำไปสู่การรักษาที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังมีความปลอดภัยในการเข้าถึงและการขออนุญาตการเข้าถึงข้อมูลโดยเจ้าของข้อมูลอย่างแท้จริงด้วยเทคโนโลยีบล็อกเชน ผลการศึกษาพบว่าผู้ป่วยและแพทย์สามารถเข้าถึงข้อมูลประวัติการรักษาได้อย่างรวดเร็วกว่าวิธีดั่งเดิมเป็นอย่างมาก โดยไม่ต้องพึ่งผู้ให้บริการรักษาข้อมูลในการทำเรื่องขออนุญาต เสียค่าบริการ เสียเวลา และยังสามารถแบ่งปันข้อมูลด้านสุขภาพของผู้ป่วยข้ามสถานพยาบาล หรือระหว่างแพทย์ผู้เชี่ยวชาญได้ทันทีโดยไม่ผิดต่อหลักกฎหมายใด ๆ เนื่องจากผู้ให้ข้อมูล คือ เจ้าของข้อมูลอย่างแท้จริง พบว่าร้อยละ 60 ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงประวัติการรักษาของตนเองได้ภายในระยะเวลา 5 นาที และร้อยละ 50 ใช้ระยะเวลาในการรับรู้ เข้าใจ และอนุมัติรายการส่วนของข้อมูล ภายในระยะเวลา 5 นาที จากจำนวนผู้ป่วย 10 ราย และร้อยละ 60 จากจำนวนแพทย์ 5 ราย สามารถเข้าถึงประวัติการรักษาของผู้ป่วย ภายในระยะเวลา 5 นาทีen_US
Appears in Collections:CAMT: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
632132037-Chanatip Trongpanyachot.pdfแก้ไขชื่อไฟล์1.35 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.