Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73834
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรุ่งฉัตร ชมภูอินไหว-
dc.contributor.authorนภัสสร สมศักดิ์en_US
dc.date.accessioned2022-08-13T03:41:25Z-
dc.date.available2022-08-13T03:41:25Z-
dc.date.issued2021-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73834-
dc.description.abstractThis research aims to develop performance indicators for the transportation service providers of the meat processing company. The research has three main steps: studying factors related to the performance of the transportation service providers from previous research, screening the factors affecting the performance of transportation service providers of the meat processing company using Analytic Hierarchy Process (AHP) and lastly defining the performance indicators. Firstly, factors relevant to the transportation service provider performance were studied based on the previous research, data from the case study companyand the Good Manufacturing Practices (GMP). The results of the study resulted in a total of 8 main probable factors as follows: cost, time, transportation process, reliability, response, equipment and technology installation, service of the courier and promotion, which consists of 35 secondary factors. Next, the factors affecting the performance of the transportation service providers of the meat processing company were screened using AHP. In this step, questionnaires were used to collect data from a sample group of 14 employees in a case study company involved in the transportation of finished goods. The results of the analysis with AHP found that there were 6 primary factors and 21 secondary factors affecting the performance of transportation service providers. In the final step, the indicators to assess the performance of the transportation service providers were defined. Then the real users in the case study company used the developed performance indicators to evaluate two transportation service providers to assess the suitability of the developed performance indicators. The results showed that the developed indicators are suitable for practical use.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาตัวชี้วัดสมรรถนะของผู้ให้บริการขนส่งสำหรับบริษัทแปรรูปเนื้อสัตว์en_US
dc.title.alternativeDevelopment of performance indicators of transportation service providers for meat processing companyen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการขนส่ง-
thailis.controlvocab.thashบริการจัดส่งสินค้า-
thailis.controlvocab.thashการขนส่งสินค้า-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตัวชี้ วัดสมรรถนะของผู้ให้บริการขนส่งสำหรับบริษัทแปรรูปเนื้อสัตว์ โดยมีขั้นตอนหลัก 3 ขั้นตอน คือ การศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสมรรถนะของผู้ให้บริการขนส่งจากงานวิจัยในอดีต การคัดกรองปัจจัยที่มีความสำคัญต่อสมรรถนะของผู้ให้บริการขนส่งของบริษัทแปรรูปเนื้อสัตว์ ด้วยวิธีกระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้น (Analytic Hierarchy Process, AHP) และขั้นตอนสุดท้ายคือการกำหนดตัวชี้วัดในการประเมินสมรรถนะในขั้นตอนแรกผู้วิจัยได้ทำการศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสมรรถนะของผู้ให้บริการขนส่งจากงานวิจัยในอดีต ข้อมูลที่เกี่ยวข้องของบริษัทกรณีศึกษาและหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร (Good Manufacturing Practices, GMP) ได้ปัจจัยหลักที่มีความเป็นไปได้ทั้งหมด 8 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยด้านต้นทุน ปัจจัยด้านเวลา ปัจจัยด้านกระบวนการขนส่ง ปัจจัยด้านความน่าเชื่อถือ ปัจจัยด้านการตอบสนอง ปัจจัยด้านการติดตั้งอุปกรณ์และเทคโนโลยี ปัจจัยด้านการบริการของพนักงานขนส่ง และปัจจัยด้านการส่งเสริมการขาย ซึ่งประกอบไปด้วยปัจจัยรอง 35 ปัจจัยต่อมาขั้นตอนที่ 2 ทำการคัดกรองปัจจัยที่มีความสำคัญต่อสมรรถนะของผู้ให้บริการขนส่งของบริษัทแปรรูปเนื้อสัตว์ด้วยวิธี AHP โดยใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลในกลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานในบริษัทกรณีศึกษาที่ทำงานเกี่ยวกับการขนส่งสินค้าของบริษัททั้งสิ้น 14 คน เมื่อทำการวิเคราะห์ AHP แล้วได้ปัจจัยที่มีความสำคัญในการประเมินสมรรถนะของผู้ให้บริการขนส่งของบริษัทแปรรูปเนื้อสัตว์ เป็นปัจจัยหลัก 6 ปัจจัย ซึ่งประกอบไปด้วยปัจจัยรอง 21 ปัจจัย ในขั้นตอนสุดท้ายได้ทำการกำหนดตัวชี้วัดในการประเมินสมรรถนะของผู้ให้บริการขนส่ง จากนั้นนำไปให้ผู้ใช้งานจริงในโรงงานกรณีศึกษาประเมินบริษัทผู้ให้บริการขนส่งจำนวน 2 ราย เพื่อประเมินความเหมาะสมของตัวชี้วัดสมรรถนะที่พัฒนาขึ้นมา ผลพบว่าตัวชี้วัดที่พัฒนาขึ้นมามีความเหมาะสมที่จะนำไปใช้งานจริงen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630632038 นภัสสร สมศักดิ์.pdf7.51 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.