Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67225
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ลาชแมน ดาส มาลฮี | en_US |
dc.contributor.author | ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์ | en_US |
dc.contributor.author | สมใจ ศิระกมล | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-04-02T14:43:12Z | - |
dc.date.available | 2020-04-02T14:43:12Z | - |
dc.date.issued | 2562 | en_US |
dc.identifier.citation | พยาบาลสาร 46, ฉบับพิเศษ (ธ.ค. 2562), 104-115 | en_US |
dc.identifier.issn | 0125-5118 | en_US |
dc.identifier.uri | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/232933/159573 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67225 | - |
dc.description | วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ | en_US |
dc.description.abstract | การขาดประสิทธิภาพขณะทำงานของพยาบาลหมายถึงการตัดสินใจไปทำงานในขณะที่เจ็บป่วยเป็นประเด็นสำคัญสำหรับผู้บริหารการพยาบาลที่ต้องให้ความสำคัญ การศึกษาเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความเครียดในงานและการขาดประสิทธิภาพขณะทำงานตามการรับรู้ของพยาบาล และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดในงานและการขาดประสิทธิภาพขณะทำงานโดยรวมของพยาบาลในโรงพยาบาลตติยภูมิ สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลจำนวน 282 คนที่ทำงานใน 3 โรงพยาบาลตติยภูมิสาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน เก็บรวบรมข้อมูลระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือน มีนาคม พ.ศ. 2559 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบวัดความเครียดของพยาบาล (ENSS) และแบบวัดการขาดประสิทธิภาพขณะทำงานของสแตนฟอร์ด (SPS-6) แบบวัดความเครียดของพยาบาลและแบบวัดการขาดประสิทธิภาพขณะทำงานของสแตนฟอร์ดผ่านการตรวจหาความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้พัฒนาเครื่องมือ ค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงของเครื่องมือทั้งสองฉบับเท่ากับ 0.08 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน ผลการวิจัยพบว่า 1.คะแนนเฉลี่ยของความเครียดในงานโดยรวมและองค์ประกอบของความเครียดในงาน 9 องค์ประกอบตามการรับรู้ของพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง 2.คะแนนเฉลี่ยของการขาดประสิทธิภาพขณะทำงานโดยรวมและองค์ประกอบของประสิทธิภาพในการทำงาน 2 องค์ประกอบตามการรับรู้ของพยาบาลอยู่ในระดับสูง 3.ความเครียดในงานโดยรวมไม่มีความสัมพันธ์กับการขาดประสิทธิภาพขณะทำงานโดยรวมของพยาบาล ผลการศึกษาครั้งนี้จะเป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับผู้บริหารโรงพยาบาลและผู้บริหารทางการพยาบาลในการออกแบบกลยุทธ์เพื่อจะลดความเครียดในงาน และจัดการการขาดประสิทธิภาพขณะทำงานของพยาบาลในโรงพยาบาลตติยภูมิ สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | พยาบาล | en_US |
dc.subject | ปากีสถาน | en_US |
dc.title | ความเครียดในงานและการขาดประสิทธิภาพขณะทำงานของพยาบาลในโรงพยาบาลตติยภูมิสาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน | en_US |
dc.title.alternative | Job Stress and Presenteeism Among Nurses in Tertiary Level Hospitals, the Islamic Republic of Pakistan | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.