Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67135
Title: | ผลของการสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรม การให้นมมารดาของมารดาคลอดก่อนกำหนด |
Other Titles: | Effect of Social Support on Breastfeeding Behavior among Mothers with Preterm Delivery |
Authors: | ฐิติพร แสงพลอย พรรณพิไล ศรีอาภรณ์ ปิยะนุช ชูโต |
Authors: | ฐิติพร แสงพลอย พรรณพิไล ศรีอาภรณ์ ปิยะนุช ชูโต |
Keywords: | การสนับสนุนทางสังคม;การเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา;มารดาคลอดก่อนกำหนด |
Issue Date: | 2559 |
Publisher: | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
Citation: | พยาบาลสาร 44, 4 (ต.ค.-ก.ย. 2559), 13-23 |
Abstract: | มารดาคลอดก่อนกำหนดมีความเสี่ยงต่อการไม่ประสบความสำเร็จในการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา เนื่องจากภาวะสขุภาพของทารกแรกเกดิและการถกูแยกจากกนัทนัทหีลงัคลอด การศกึษาวจิยัแบบกงึ่ทดลอง ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการให้นมมารดาของมารดาคลอดก่อนกำหนดระหว่างกลุ่ม ควบคมุและกลมุ่ทดลอง กลุ่มตัวอย่างมารดาคลอดกอ่นกำหนดจำนวน 44 ราย มีมาคลอดในโรงพยาบาล นครพิงค์และโรงพยาบาลลำพูน ตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงพฤศจิกายน พ.ศ. 2557 เลือกกลุ่มตัวอย่างตาม คุณสมบัติที่กำหนดโดยแบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 22 ราย กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาล ตามปกติ ส่วนกลุ่มทดลองได้รับทั้งการพยาบาลตามปกติและแผนการสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรมการ ให้นมมารดา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรมการให้นมมารดา ของมารดาคลอดกอ่นกำหนด 2) คู่มือการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาในมารดาคลอดกอ่นกำหนด 3) แบบประเมินพฤติกรรมการให้นมมารดาของมารดาคลอดก่อนกำหนด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา การทดสอบ ไคสแควร์ สถิติทดสอบแมนวิทนีย์ยู และสถิติทดสอบวิลคอกซันจับคู่เครื่องหมายตำแหน่ง ผลการวิจัย พบว่า มารดาคลอดก่อนกำหนดกลุ่มที่ได้รับการสนับสนุนทางสังคมมีคะแนนพฤติกรรมการ ให้นมมารดาสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) ผลการวิจัยครั้งนี้เป็นแนวทางสำหรับพยาบาลผดุงครรภ์ ในการสนับสนุนการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา ในมารดาคลอดก่อนกำหนดให้ประสบความสำเร็จต่อไป Mothers with preterm delivery are at risk at breastfeeding failure due to health conditionsof newborns and separation immediately after birth. This quasi-experimental research aimed to compare the breastfeeding behavior among mothers with preterm delivery between a control and an experimental group. The subjects consisted of 44 mothers with preterm delivery who admitted to delivery at Nakornping Hospital and Lamphun Hospital from May to November 2014. The subjects were purposively selected for the control group and the experimental group, with twenty-two in each group. The control group received routine postpartum care and the experimental group received both routine postpartum care and the social support plan for promoting breastfeeding behavior. The research instruments were1) the Social Support Plan for Breastfeeding Behavior among Mothers with Preterm Delivery, 2) the Breastfeeding Manual for Mothers with Preterm Delivery, and 3) the Breastfeeding Behavior among Mothers with Preterm Delivery Assessment. Data were analyzed usingdescriptive statistics, Chi-square test, Mann – Whitney U test and Wilcoxon matched pair test.Results of the study revealed that mothers with preterm delivery who received social support had statistically significantly higher breastfeeding behavior scores than mothers with preterm delivery who received normal nursing care. (p < 0.001).The study results provide guidance for nurse-midwives to successfully supportbreastfeeding among mothers with preterm delivery. |
Description: | วารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับ |
URI: | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/75126/60560 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/67135 |
ISSN: | 0125-5118 |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.