Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66897
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | วัชรชัย จิรจินดากุล | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-12-03T06:32:23Z | - |
dc.date.available | 2019-12-03T06:32:23Z | - |
dc.date.issued | 2562 | en_US |
dc.identifier.citation | นิติสังคมศาสตร์ 12, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2562), 54-79 | en_US |
dc.identifier.issn | 2672-9245 | en_US |
dc.identifier.uri | https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMUJLSS/article/view/147863/138987 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66897 | - |
dc.description | CMU Journal of Law and Social Sciences รับพิจารณาบทความวิชาการ และบทปริทัศน์ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยขอบเขตเนื้อหาทางวิชาการของCMU Journal of Law and Social Sciences จะครอบคลุมเนื้่อหา เกี่ยวกับกฎหมายทุกสาขา เช่น กฎหมายมหาชน กฎหมายเอกชน กฎหมายอาญา กฎหมายระหว่างประเทศ เป็นต้น ซึ่งสัมพันธ์กับความรู้ทางด้านสังคมศาสตร์ในสาขาต่างๆ | en_US |
dc.description.abstract | แนวคิดเรื่องความรับผิดชอบขององค์กรธุรกิจต่อสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) ถือว่าเป็นแนวคิดที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการดำเนินธุรกิจในปัจจุบัน โดยเฉพาะในบริบทของภูมิภาคอาเซียน แม้ว่าแนวคิดดังกล่าวจะมีการกล่าวถึงมานาน อย่างไรก็ดี แนวคิดดังกล่าวยังขาดความมีประสิทธิภาพในการปรับใช้และการบังคับใช้ในทางปฏิบัติเนื่องจากเป็นแนวคิดที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความสมัครใจขององค์กรธุรกิจขาดสภาพบังคับทางกฎหมาย อีกทั้งเมื่อพิจารณาประกอบหลักการว่าด้วยวิถีแห่งอาเซียน (ASEAN Way) ซึ่งเป็นทางปฏิบัติของรัฐสมาชิกอาเซียนจึงยิ่งทำให้หลักความรับผิดชอบขององค์กรธุรกิจต่อสังคมในบริบทของภูมิภาคอาเซียนมีความท้าทายในการปรับใช้มากยิ่งขึ้น เพื่อศึกษาปัญหาความท้าทายของการปรับใช้แนวคิดความรับผิดชอบขององค์กรธุรกิจต่อสังคมและหลักการว่าด้วยวิถีแห่งอาเซียนในบริบทของภูมิภาคอาเซียนดังกล่าว ผู้เขียนได้ศึกษากรณีศึกษาเรื่องเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำไซยะบุรีมาวิเคราะห์และอธิบาย โดยใช้กลวิธีการเล่าเรื่องประกอบการวิเคราะห์เนื้อหา บทความนี้ชี้ให้เห็นถึงปัญหาการปรับใช้แนวคิดหลักความรับผิดชอบขององค์กรธุรกิจต่อสังคมกับหลักการว่าด้วยวิถีแห่งอาเซียนผ่านกรณีศึกษา ผลของการศึกษาแสดงให้เห็นว่าการปรับใช้หลักความรับผิดชอบขององค์กรธุรกิจต่อสังคมมีปัญหาในการบังคับใช้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริบทที่เกี่ยวข้องกับสถาบันการเงินนั้น มีแนวโน้มที่ไม่สามารถบังคับได้ ด้วยเหตุนี้ ผู้เขียนจึงเห็นว่าการกำหนดตราสารกฎหมายอย่างอื่นมาใช้บังคับแทนจะส่งผลให้เกิดข้อบังคับที่ชัดเจน และสร้างแนวทางแก่องค์กรธุรกิจให้มีความรับผิดชอบต่อสังคมมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีหากมีการละเมิดสิทธิมนุษยชนเกิดขึ้นโดยองค์กรธุรกิจ | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ความรับผิดชอบขององค์กรธุรกิจต่อสังคม | en_US |
dc.subject | หลักการวิถีแห่งอาเซียน | en_US |
dc.subject | เขื่อนไซยะบุรี | en_US |
dc.subject | สถาบันการเงิน | en_US |
dc.title | เรื่องเล่าจากเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำไซยะบุรี : หลักความรับผิดชอบต่อสังคมที่บังคับไม่ได้กับวิถีแห่งอาเซียนต่อสถาบันการเงิน | en_US |
dc.title.alternative | A Tale of Xayaburi Hydroelectric Dam: The Unenforceable Concept of Corporate Social Responsibilityand “ASEAN Way” on Financial Institutions | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.