Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66471
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | พงษ์พันธ์ แทนเกษม | en_US |
dc.contributor.author | ธนพล พรหมรักษา | en_US |
dc.contributor.author | ธเนศ เสถียรนาม | en_US |
dc.contributor.author | อนุชาติ ลี้อนันต์ศักดิ์ศิริ | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T09:18:28Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T09:18:28Z | - |
dc.date.issued | 2560 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ 24, 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2560), 161-173 | en_US |
dc.identifier.issn | 2672-9695 | en_US |
dc.identifier.uri | http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/24_3/16.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66471 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี | en_US |
dc.description.abstract | บทความนี้นำ เสนอการศึกษาและเปรียบเทียบประสิทธิภาพด้านการลดความล่าช้าเนื่องจากการควบคุมสัญญาณ ไฟจราจรของสามแยกท่าพระ อ.เมือง จ.ขอนแก่น ใน 3 กรณีประกอบด้วย 1) การปรับปรุงระบบสัญญาณไฟจราจรแบบ คงที่ 2) ระบบสัญญาณไฟจราจรแปรผันตามปริมาณจราจรในบางทิศทาง และ 3) ระบบสัญญาณไฟจราจรแปรผันตาม ปริมาณจราจรในทุกทิศทาง โดยการใช้แบบจำลองการจราจรระดับจุลภาค เป็นเครื่องมือในการประเมินผลทั้งนี้คณะผู้วิจัย ได้สำรวจข้อมูลลักษณะทางกายภาพของถนน ลักษณะการจราจร สัญญาณไฟจราจร ปริมาณจราจรในแต่ละทิศทาง และ ความยาวแถวคอย เพื่อใช้ในการปรับเทียบแบบจำลอง รวมถึงการตรวจสอบความถูกต้องของแบบจำลอง และการประยุกต์ใช้ในแบบจำลอง ผลการศึกษาพบว่ารูปแบบที่ดีที่สุด คือ ระบบสัญญาณไฟแปรผันตามปริมาณจราจรในทุกทิศทาง โดยสามารถลดความล่าช้าเนื่องจากการหยุดได้ร้อยละ 69 และลดความล่าช้ารวมเฉลี่ยได้ร้อยละ 52 เมื่อเปรียบเทียบกับการควบคุมสัญญาณไฟจราจรในปัจจุบัน สำหรับรูปแบบการปรับสัญญาณไฟจราจรแบบคงที่โดยปรับให้ สอดคล้องกับปริมาณจราจรในปัจจุบัน และรูปแบบระบบสัญญาณไฟจราจรที่แปรผันตามปริมาณจราจรในบางทิศทาง สามารถลดความล่าช้าเนื่องจากการหยุดได้ร้อยละ 12 และร้อยละ 50 ตามลำดับ ความล่าช้ารวมเฉลี่ยได้ร้อยละ 9 และร้อย ละ 41 ตามลำดับ | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | สัญญาณไฟจราจร | en_US |
dc.subject | สัญญาณไฟจราจรแบบกึ่งกระตุ้น | en_US |
dc.subject | สัญญาณไฟจราจรแบบกระตุ้นเต็ม | en_US |
dc.subject | ความล่าช้า | en_US |
dc.title | การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการลดความล่าช้าที่ทางแยกเดี่ยวด้วยควบคุมสัญญาณไฟจราจร | en_US |
dc.title.alternative | Comparison of Delay Reduction of an Isolated Intersection Controlled by Traffic Signal Systems | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.