Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66434
Title: การหาค่าพารามิเตอร์ที่ดีที่สุดในการเชื่อมด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ โดยวิธีการทากุชิที่การหลอมละลายแนวเชื่อม
Other Titles: Parametric Optimization of Shield Metal – Arc Welding Process by Taguchi Method on Weld Dilution
Authors: สุรพงศ์ บางพาน
พีรพันธ์ บางพาน
เจษฎา แก้วสุใจ
พงค์นรินทร์ กิ่งอุโมงค์
Authors: สุรพงศ์ บางพาน
พีรพันธ์ บางพาน
เจษฎา แก้วสุใจ
พงค์นรินทร์ กิ่งอุโมงค์
Keywords: วิธีการทากุชิ;การจัดวางลำดับแนวฉาก;Orthogonal Array;การเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์;การหลอมละลาย
Issue Date: 2561
Publisher: คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Citation: วารสารวิศวกรรมศาสตร์ 25, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2561), 34-42
Abstract: การเชื่อมด้วยลวดเชื่อมที่มีสารพอกหุ้ม (Shielded Metal Arc Welding (SMAW)) เป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายของกระบวนเชื่อมในโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็กเพราะว่าการเชื่อมด้วยลวดเชื่อมที่มีสารพอกหุ้ม (Shielded Metal Arc Welding (SMAW)) นั้นจะมีต้นทุนที่ต่ำในส่วนของการกำหนดค่าพารามิเตอร์ของการเชื่อมด้วยลวดเชื่อมที่มีสารพอกหุ้ม (Shielded Metal Arc Welding (SMAW)) เป็นปัจจัยที่สำคัญอย่างมากซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพ การเพิ่มผลผลิตและต้นทุนในการเชื่อมดังนั้นวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อเป็นการพัฒนาค่าพารามิเตอร์สำหรับการเชื่อม ด้วยลวดเชื่อมที่มีสารพอกหุ้ม (Shielded Metal Arc Welding (SMAW)) ตลอดจนได้ทำการวางแผนการเพื่อเตรียมงานอย่างต่อเนื่องและตรวจดูการหลอมละลายแนวเชื่อมจากการทดสอบรอยเชื่อมต่อการซึมลึกในเหล็กรางที่มีขนาดความ กว้าง 4x4 นิ้ ว 2 และความหนา 4 มิลลิเมตรในระหว่างกระบวนการทดสอบนั้นได้ทำการเลือกค่าพารามิเตอร์ของการเชื่อมซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญ ประกอบด้วยกระแสไฟฟ้า มุมของการเชื่อมและฐานช่องวางระหว่างชิ้นงานกับลวดเชื่อมของตำแหน่งที่ทำการเชื่อม ตามที่ได้ทำการคัดเลือกตัวแปรของค่าพารามิเตอร์ซึ่งมีจำนวนอย่างเพียงพอต่อการทดลองเพราะว่าได้ดำเนินการ ทดลองด้วยวิธีการทากุชิเพื่อหาค่าที่ดีที่สุด สำหรับแต่ละลำดับของปัจจยัที่ดีที่สุดจะกำหนดเป็นค่าคงที่นอกจากนี้แล้วลำดับ ของการทดลองจะถูกแยกเป็น 3 ระดับ ดังนั้นการทดลองนี้จะมี3 ปัจจัยกับ 3 ระดับ ในงานวิจัยนี้ได้เลือกแบบการจัดวาง ลำดับแบบแนวฉาก (Orthogonal Array, OA) ชนิด L9 ทำการทดลองจะดำเนินการด้วยการจัดวางลำดับแบบแนวฉาก (Orthogonal Array, OA) ผลลัพธ์ที่ได้จากการทดลองประกอบด้วยการปรับกระแสไฟฟ้าอยู่ที่90 แอมแปร์มุมของการเชื่อมเท่ากับ 10 องศาและฐานช่องว่างระหว่างชิ้นงานเท่ากับ 3 มิลลิเมตร ซึ่งเป็นค่าปัจจัยที่สำคัญต่อการเชื่อมด้วยลวดเชื่อม ที่มีสารพอกหุ้ม ในการหลอมละลายของการซึมลึกแนวเชื่อมอยู่ในระดับที่ดีที่สุด
Description: วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี
URI: http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_1/03Surapong.pdf
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66434
ISSN: 2672-9695
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.