Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66348
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพิพัฒน์ กระแจะจันทร์en_US
dc.date.accessioned2019-08-21T09:18:26Z-
dc.date.available2019-08-21T09:18:26Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.citationวารสารวิจิตรศิลป์ 8, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2560), 185-264en_US
dc.identifier.issn1906-0572en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/78661/85723en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/66348-
dc.descriptionวารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 ม.ค. – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี)en_US
dc.description.abstractป้อมและกำแพงเมืองแบบยุโรปได้ถูกนำมาใช้ในการปรับปรุงป้อมกำแพงเมืองสมัยพระนารายณ์หลายเมืองด้วยกัน ซึ่งการปรับปรุงนี้สัมพันธ์กับความเคลื่อนไหวทางการค้าและการเมืองในปลายรัชสมัยพระนารายณ์ วิศวกรที่มีบทบาทในช่วงเวลานั้นคือ มองซิเออร์ เดอ ลามาร์ ชาวฝรั่งเศสซึ่งเดินทางเข้ามาพร้อมคณะทูตมองซิเออร์ เดอ โชมอง โดยหน้าที่หลักของเขาคือการออกแบบและควบคุมการก่อสร้างป้อมกำแพงสมัยใหม่จำนวนหลายเมืองในอาณาจักรอยุธยา ระหว่าง พ.ศ.2228-2230 ด้วยเหตุนี้ บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์หลัก 2 ประการคือ ประการแรก ศึกษาแนวคิดและปัจจัยที่ทำให้สมเด็จพระนารายณ์ทรงตัดสินใจดำเนินการปรับปรุงและสร้างป้อมกำแพงเมือง ประการที่สอง ศึกษางานออกแบบและการก่อสร้างที่ทำโดยลามาร์ ด้วยการใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีร่วมกันเท่าที่พอจะสามารถสืบค้นข้อมูลได้ ผลจากการศึกษาพบว่า สาเหตุหลักของการปรับปรุงป้อมกำแพงเมืองเกิดขึ้นจากประการแรกคือ ความต้องการในการพัฒนาระบบป้องกันข้าศึก ได้แก่ เชียงใหม่และพม่า และสร้างขอบเขตของอาณาจักรให้เข้มแข็ง ทำให้ต้องมีการปรับปรุงเมืองอยุธยาและเมืองลพบุรี ประการที่สองคือ ต้องการเสริมความเข้มแข็งให้กับเมืองท่าในภาคใต้ได้แก่ เมืองนครศรีธรรมราช เมืองพัทลุง และเมืองสงขลา เพื่อเตรียมการรับมือฮอลันดา และรวมถึงโจรสลัด ประการสุดท้ายคือ การเอื้อผลประโยชน์ให้กับฝรั่งเศสเพื่อเข้าควบคุมเส้นทางการค้าด้านตะวันตกเพื่อให้แทนที่อำนาจของขุนนางท้องถิ่น ทำให้มีการปรับปรุงและสร้างป้อมเมืองบางกอกและเมืองมะริดen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectMonsieur de Lamareen_US
dc.subjectFortificationen_US
dc.subjectFranceen_US
dc.subjectAyutthayaen_US
dc.subjectมองซิเออร์ เดอ ลามาร์en_US
dc.subjectป้อมกำแพงเมืองen_US
dc.subjectฝรั่งเศสen_US
dc.subjectอยุธยาen_US
dc.titleการค้าในการเมือง กับ มองซิเออร์ เดอ ลามาร์ วิศวกรฝรั่งเศสผู้ออกแบบป้อมกำแพงเมืองในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์en_US
dc.title.alternativeTrade within Politics and Monsieur de Lamare, A French Fortification Engineer in the Reign of King Naraien_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.