Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65930
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อนุ เจริญวงศ์ระยับ | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T08:45:31Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T08:45:31Z | - |
dc.date.issued | 2561 | en_US |
dc.identifier.citation | มนุษยศาสตร์สาร 19, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2561), 151-178 | en_US |
dc.identifier.issn | 2630-0370 | en_US |
dc.identifier.uri | https://www.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/131625/98764 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65930 | - |
dc.description | มนุษยศาสตร์สาร เป็นวารสารที่ออกตรงตามเวลาอย่างต่อเนื่อง โดยตีพิมพ์ 3 ฉบับต่อปี ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคมมนุษยศาสตร์สาร นำเสนอบทความทางวิชาการ ด้านมนุษยศาสตร์ ซึ่งมีการจัดทำทั้งรูปแบบตีพิมพ์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 และรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 เช่นกัน | en_US |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อแสดงหลักฐานความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างของแบบวัดเจตคติต่อการศึกษาต่ออาชีวศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์ย่อยเพื่อ 1) เปรียบเทียบความกลมกลืนของโมเดลกับข้อมูลเชิงประจักษ์ระหว่างโมเดลแข่งขัน 3 โมเดล 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติต่อการศึกษาต่ออาชีวศึกษากับความตั้งใจศึกษาต่ออาชีวศึกษา และ 3) เปรียบเทียบเจตคติต่ออาชีวศึกษาระหว่างนักเรียนที่เลือกศึกษาต่ออาชีวศึกษากับสายสามัญ ผู้เข้าร่วมในการศึกษาเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จากจังหวัดพิษณุโลก สุโขทัย และกำแพงเพชร จำนวน 730 คน แบบวัดมีจำนวน 25 ข้อความ แบ่งเป็น 2 มิติ ได้แก่ ด้านความรู้สึก และด้านปัญญาเกี่ยวกับค่านิยม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน การวิเคราะห์ถดถอยแบบโลจิสติก และการทดสอบทีอิสระ ผลการวิจัยพบว่า 1) โมเดลเจตคติต่อการศึกษาต่ออาชีวศึกษาแบบ 2 องค์ประกอบคือด้านความรู้สึก และด้านปัญญาเกี่ยวกับค่านิยม มีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์และมีความประหยัดสูงสุด 2) เจตคติต่อการศึกษาต่ออาชีวศึกษาทั้ง 2 องค์ประกอบส่งผลต่อความตั้งใจศึกษาต่ออาชีวศึกษา และ 3) เจตคติต่อการศึกษาต่ออาชีวศึกษาทั้ง 2 องค์ประกอบมีค่าเฉลี่ยที่แตกต่างกัน ระหว่างกลุ่มนักเรียนนักเรียนที่เลือกศึกษาต่ออาชีวศึกษากับสายสามัญ | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | อาชีวศึกษา | en_US |
dc.subject | เจตคติ | en_US |
dc.subject | การศึกษาต่อ | en_US |
dc.subject | แบบวัด | en_US |
dc.title | ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างของแบบวัดเจตคติต่อการศึกษาต่ออาชีวศึกษา | en_US |
dc.title.alternative | Construct Validity of the Attitude toward Continuing Study on Vocational Education Scale | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.