Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65119
Title: | Clinical Characteristics and Outcomes of Dengue-infected Children Admitted to the Chiang Mai University Hospital During an Outbreak in 2008 |
Other Titles: | อาการทางคลินิกและผลการรักษาของเด็กไขเลือดออกที่เขารับการรักษา ในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหมในชวงการระบาดป พ.ศ. 2551 |
Authors: | Tavitiya Sudjaritruk Peninnah Oberdorfer |
Authors: | Tavitiya Sudjaritruk Peninnah Oberdorfer |
Issue Date: | 2011 |
Publisher: | Faculty of Medicine, Chiang Mai University |
Abstract: | วัตถุประสงค เพื่อประเมินลักษณะทางคลินิกผลการรักษา และคาใชจายของเด็กติดเชื้อไขเลือด ออกที่เขารับการรักษาในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหมในชวงการระบาดของโรคในจังหวัด เชียงใหม ป พ.ศ. 2551 วิธีการศึกษา ทบทวนเวชระเบียนเด็กทุกรายที่ไดรับการยืนยันการติดเชื้อไขเลือดออกจากผลตรวจ ทางน้ำเหลือง และเขารับการรักษาในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม ในชวงเดือนมกราคม ถึง เดือนธันวาคม พ.ศ. 2551 ผลการศึกษา เด็กจำนวนทั้งหมด 130 ราย เขารวมในการศึกษานี้ คามัธยฐานของอายุคือ 12.2 ป (ระหวางอายุ9.7-13.9 ป) เปนเพศชาย 78 ราย (รอยละ 60) ผูปวยจำนวน 20 ราย (รอยละ 15.4) ได รับการวินิจฉัยเปนโรคไขเดงกี่ ผูปวยจำนวน 99 ราย (รอยละ 76.1) ไดรับการวินิจฉัยเปนโรคไข เลือดออก และผูปวยจำนวน 11 ราย (รอยละ 8.5) ไดรับการวินิจฉัยเปนโรคไขเลือดออกที่มีภาวะ ช็อค อาการนำสำคัญ 3 อันดับคือ ไข (รอยละ 98.5) คลื่นไสอาเจียน (รอยละ 66.9) และปวดกลาม เนื้อ (รอยละ 55.4) ในผูปวยเด็กที่ไดรับการวินิจฉัยเปนโรคไขเลือดออกที่มีภาวะช็อคจะพบความ ผิดปกติของระบบประสาท ตับโต น้ำในชองเยื่อหุมปอด และน้ำในชองทองมากกวาผูปวยเด็กที่ ไดรับการวินิจฉัยเปนโรคไขเดงกี่และไขเลือดออกอยางมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <0.05) เด็กที่ไดรับ การวินิจฉัยเปนโรคไขเลือดออกที่มีภาวะช็อคตองเขารับการรักษาในโรงพยาบาลนานกวาเด็กที่ ไมมีภาวะช็อค อยางมีนัยสำคัญทางสถิติ (7.1 วัน เทียบกับ 3.3 วัน, p <0.01) คาเฉลี่ยของคาใชจาย ในโรงพยาบาลในกลุมเด็กที่ไดรับการวินิจฉัยวาเปนโรคไขเลือดออกที่มีช็อคสูงถึง 10 เทาของเด็ก กลุมที่ไมมีภาวะช็อค อัตราตายโดยรวม คิดเปนรอยละ 1.5 สรุป เด็กที่ไดรับการวินิจฉัยเปนโรคไขเลือดออกที่มีภาวะช็อคจะมีอาการทางคลินิกรุนแรงกวา และตองเขารับการรักษาในโรงพยาบาลยาวนานกวาเด็กที่ไมมีภาวะช็อค ดังนั้น การวินิจฉัยและ รักษาอยางทันทวงที จะสามารถชวยลดอัตราการปวย อัตราการตายและคาใชจายในโรงพยาบาล |
Description: | Chiang Mai Medical Journal (Formerly Chiang Mai Medical Bulletin) is an official journal of the Faculty of Medicine, Chiang Mai University. It accepts original papers on clinical and experimental research that are pertinent in the biomedical sciences. The Journal is published 4 issues/year (i.e., Mar, Jun, Sep, and Dec). |
URI: | https://www.tci-thaijo.org/index.php/CMMJ-MedCMJ/article/view/88091/69319 http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65119 |
ISSN: | 0125-5983 |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.