Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64426
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชลธิชำ ใจมำแก้วen_US
dc.contributor.authorศิวำพร ธรรมดีen_US
dc.contributor.authorจำมจุรี โสตถิกุลen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:07Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:07Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.issn0857-0842en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00131_C00974.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64426-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)en_US
dc.description.abstractการกระตุ้นให้ขิงสร้างเหง้าในสภาพปลอดเชื้อจากการเพาะเลี้ยงลาต้นเทียมบนอาหารแข็งสูตร MS ดัดแปลงที่มี BA เข้มข้น 0.5 มก./ล. พบว่าหลังเพาะเลี้ยง 3 เดือน น้าตาลและการให้แสงส่งผลต่อการสร้างเหง้าและการเติบโตของต้น การให้น้าตาลซูโครสเข้มข้น 10 เปอร์เซ็นต์ มีผลทาให้ค่าเฉลี่ยความสูงและจานวนใบต่าเมื่อเทียบกับน้าตาลซูโครสเข้มข้น 3-8 เปอร์เซ็นต์ ระยะเวลาการให้แสง 16 และ 24 ชั่วโมง มีผลทำให้จานวนใบเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับการให้แสง 0 ชั่วโมง ทั้งนี้การให้น้าตาลซูโครสเข้มข้น 6-10 เปอร์เซ็นต์ และระยะเวลาการให้แสง 16-24 ชั่วโมง ช่วยส่งเสริมการเกิดเหง้าได้ ซึ่งการเติมน้าตาล 8 เปอร์เซ็นต์ ร่วมกับการให้แสง16 ชั่วโมง นั้นเป็นวิธีการที่เหมาะสมที่สุดต่อการสร้างเหง้าโดยให้อัตราส่วนของเส้นผ่าศูนย์กลางของส่วนโคนที่กว้างที่สุดต่อเส้นผ่าศูนย์กลางลาต้นเทียมมากถึง 3.0 และทาให้เกิดเหง้า 100 เปอร์เซ็นต์ ส่วนการใช้ถ่านกัมมันต์ ไม่ส่งผลต่อการสร้างเหง้า และยังทาให้การจานวนยอดและจานวนใบลดลงen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.titleผลของน้ำตำลซูโครส ถ่ำนกัมมันต์ และระยะเวลำกำรให้แสงต่อกำรสร้ำงเหง้ำ ของขิงในสภำพปลอดเชื้อen_US
dc.title.alternativeEffects of Sucrose, Activated Carbon, and Light Duration on In Vitro Microrhizome Formation of Gingeren_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารเกษตรen_US
article.volume32en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาพืชศาสตร์และปฐพีศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50200en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.