Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45915
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เขมกร ไชยประสิทธิ์ | - |
dc.contributor.author | ชื่นจิต วิชัยดิษฐ์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2018-03-26T04:31:39Z | - |
dc.date.available | 2018-03-26T04:31:39Z | - |
dc.date.issued | 2557-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45915 | - |
dc.description.abstract | The objectives of study were to integrate an information technology evaluation system for the administrative and technical competency of teachers and government officials of the Primary Education Service in the upper Northern Region Office. The sample of this study consisted of participants 400 who use information technology regularly e.g. school administrator the education staff and teacher. The results of the study were as follows. Regarding the satisfaction of the information technology used, the respondents were satisfied the most e.g. the ability to manage. The system can reduce the period of time to get in information preparing the old way do not used the computer. The information was restricted to only the people who were involved, those who were not involved did not here access to the data. User were able to log-in and log-out with eases as well. Meanwhile the information technology content. The used satisfied in the obviousness and tight of the data. Regarding the knowledge and understanding in the information technology used; Find out the respondents have knowledge and understand about the electronic personnel record to a medium level. The knowledge and understanding of the most respondent was the record of the government teacher and the education, in to event that personnel information could added or modified from the menu. In relation to the problem and obstacle information technology system work was low level. The data searching was low to be able to. The previous view and the searching to slowly. The knowledge system and the application system were difficult cary out and the information was not updated effected that could not applied for workable. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การใช้ระบบสารสนเทศ | en_US |
dc.subject | การบริหารสมรรถนะ | en_US |
dc.subject | ข้าราชการครู | en_US |
dc.title | การประเมินผลการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารสมรรถนะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาเขตภาคเหนือตอนบน | en_US |
dc.title.alternative | Evaluation of Competency Management Supporting System of Northern Region of Primary Education Service Area | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.ddc | 658.4038 | - |
thailis.controlvocab.thash | ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ | - |
thailis.controlvocab.thash | บุคลากรทางการศึกษา | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว/ภน 658.4038 ช315ก | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารสมรรถนะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเขตภาคเหนือตอนบน กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาประกอบด้วยผู้ใช้งานระบบสารสนเทศ จำนวน 400 คน ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา บุคลากรทางการศึกษาและข้าราชการครู ผลการศึกษาสามารถสรุปได้ดังนี้ ความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจในระดับมาก ได้แก่ ด้านความสามารถในการจัดการ ระบบช่วยลดระยะเวลาในการเรียกเก็บข้อมูลเมื่อเทียบกับการทำงานแบบเดิมที่ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ ด้านความปลอดภัยของข้อมูล ระบบมีความปลอดภัยในการเข้าใช้งานผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องไม่สามารถแก้ไขข้อมูลสำคัญได้ และด้านความพอใจของผู้ใช้ การเข้าสู่ระบบ (login) และการออกจากระบบ (logout) ง่ายต่อการใช้งาน ขณะเดียวกันด้านเนื้อหาสารสนเทศ ผู้ใช้งานมีความพึงพอใจในข้อมูลที่มีความชัดเจน กะทัดรัดได้ใจความ ความรู้ความเข้าใจในการใช้ระบบสารสนเทศ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ระบบสารสนเทศ อยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าใจว่าระบบทะเบียนประวัติ (ก.พ. 7) อิเล็กทรอนิกส์ เป็นระบบจัดเก็บข้อมูลประวัติของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และผู้ตอบแบบสอบถามมีความรู้ความเข้าใจอย่างไม่ถูกต้องว่า การเพิ่มขอมูลบุคลากรสามารถเพิ่มไดจากเมนู “บัญชีถือจายอัตราที่มีคนครอง” ปัญหาและอุปสรรคที่พบในการใช้ระบบสารสนเทศมีระดับปัญหาน้อย ได้แก่ ระบบสารสนเทศทำงานได้ไม่รวดเร็ว การเรียกดูหรือการค้นหาทำได้ช้า ระบบการเรียนรู้และการใช้งานระบบทำได้ยากและสารสนเทศที่ได้ไม่เป็นปัจจุบันทำให้ไม่สามารถนำไปใช้งานได้จริง | en_US |
Appears in Collections: | GRAD-Sciences and Technology: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.pdf | ABSTRACT | 229.18 kB | Adobe PDF | View/Open |
APPENDIX.pdf | APPENDIX | 462.95 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 1.pdf | CHAPTER 1 | 244.19 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 2.pdf | CHAPTER 2 | 394.08 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 3.pdf | CHAPTER 3 | 333.42 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 4.pdf | CHAPTER 4 | 679.91 kB | Adobe PDF | View/Open |
CHAPTER 5.pdf | CHAPTER 5 | 378.95 kB | Adobe PDF | View/Open |
CONTENT.pdf | CONTENT | 176.92 kB | Adobe PDF | View/Open |
COVER.pdf | COVER | 621.05 kB | Adobe PDF | View/Open |
REFERENCE.pdf | REFERENCE | 230.68 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.