Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/40027
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรศ.ดร.ธเนศ ศรีวิชัยลำพันธ์-
dc.contributor.advisorผศ.ดร.นิสิต พันธมิตร-
dc.contributor.authorภาวิณี ศรีทองแท้en_US
dc.date.accessioned2017-08-30T09:26:33Z-
dc.date.available2017-08-30T09:26:33Z-
dc.date.issued2558-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/40027-
dc.description.abstractThis research aims to study the factors that influence the farmers to plant the longan and study the problems and suggestions in planting longan of the farmers in Phrao, Chiangmai. The data collections are collected from 500 sampled farmers in Phrao, Chiangmai by using the questionnaires. Descriptive statistics and Logit model with Maximum likelihood Estimates are applied in the analysis of this study. As a results, mostly farmers (88.4%) are male with age 56-65 years old (53.2%), primary school education (36.2%), being married (91.6%), and being Buddhism (87.1%). The farmers earn the average of family income around 151,692 baths per year and other incomes around 35,715 baths per year. Moreover, mostly sampled farmers have agricultural areas 5-10 hectares (37.2%), living areas and others are less than 5 hectares. In family member case, the majority of sampled farmers have 2-4 people in their families (70.8%), followed by 3 working members in each family (63.8%). The farmers have experience in farming for 10-20 years (56.6%) and take part in the meeting of training to plant the longan maximum 2-3 times (44.4%). The researcher found that the experience in planting the longan is the most significant factor to lead the farmers in planting more longan (46.56%), followed by the transportation, the price, the area for the planting, the market for selling longan, and the catalyst. These factors influence farmers to plant more longan 34-38% in orders. Plus, the persuasion and suggestion from close people such as, family members and friends, or even other factors like gender and the number of working people cause the farmers to plant more longan 21-29%. Lastly, the money for investment is the least important factor for the farmers in decision of planting the longan(18.84%). Furthermore, the researcher discovered the problems and obstacles in planting the longan from the farmers; they are problems in the manufacture, market, and economics. However, the farmers suggested that the government should set the price of longan; make the price not to be too fluctuating. Finally, the government should control the price of fertilizer and chemicals; make the price not to be too expensive.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectลำไยen_US
dc.subjectเกษตรกรen_US
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจในการปลูกลำไยของเกษตรกรในเขตพื้นที่อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeFactors Affecting the Longan Production Decision of Farmers in Phrao District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc664.84-
thailis.controlvocab.thashลำไย -- พร้าว (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashเกษตรกร -- พร้าว (เชียงใหม่)-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 664.84 ก273ป-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาลักษณะทั่วไปของเกษตรที่ปลูกลำไยและไม่ปลูกลำไยในเขตพื้นที่อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจปลูกลำไยของเกษตรกรและศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการปลูกลำไยของเกษตรกรโดยเก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่างจากเกษตรกรในพื้นที่อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ จำนวนทั้งสิ้น 500 ตัวอย่าง การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปได้ใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) ในส่วนของการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจปลูกลำไยของเกษตรกรได้ใช้แบบจำลอง Logit model โดยวิธี Maximum Likelihood Estimate ผลการศึกษาข้อมูลทั่วไป พบว่า เกษตรกรตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 88.4 เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 56-65 ปี ร้อยละ 53.2 ส่วนใหญ่ระดับการศึกษาอยู่ในชั้นประถมศึกษา ร้อยละ 36.2 ส่วนใหญ่สถานภาพสมรสถึงร้อยละ 91.6 ส่วนใหญ่ศาสนาพุทธคิดเป็นร้อย 87.1 รายได้เฉลี่ยของครัวเรือนประมาณ 151,692 บาท/ปี รายได้เสริมเฉลี่ยของครัวเรือนประมาณ 35,715 บาท/ปี พื้นที่ทางการเกษตรส่วนใหญ่จะอยู่ระหว่าง 5-10 ไร่ ร้อยละ 37.2 พื้นที่อยู่อาศัยและพื้นที่ทำกิจกรรมอื่นๆ ส่วนใหญ่จะน้อยกว่า 5 ไร่ ร้อยละ 100 จำนวนสมาชิกในครอบครัวส่วนใหญ่จะอยู่ระหว่าง 2-4 คน ร้อยละ 70.8 จำนวนแรงงานในครอบครัวส่วนใหญ่จะอยู่ที่ 3 คน ร้อยละ 63.8 ประสบการณ์ในการทำการเกษตรส่วนใหญ่จะ10-20 ปี ร้อยละ 56.6 และนอกจากนี้ ส่วนใหญ่มีการเข้าร่วมประชุม/อบรมการปลูกลำไยมากที่สุดคือ 2-3 ครั้ง ร้อยละ 44.4 ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจในการปลูกลำไยของเกษตรกรในเขตพื้นที่อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า ประสบการณ์ในการปลูกลำไย เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญที่สุดมีผลต่อโอกาสที่ตัดสินใจปลูกลำไยของเกษตรกรเพิ่มขึ้นร้อยละ 46.56 รองลงมา ได้แก่ ระบบขนส่ง ราคาลำไย ขนาดพื้นที่ทำการปลูกลำไย ตลาดรองรับสินค้าลำไย สารเร่งลำไยในฤดู ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ มีผลต่อโอกาสที่จะตัดสินใจปลูกลำไยเพิ่มขึ้นระหว่างร้อยละ 34-38 ตามลำดับ ส่วนการชักชวนหรือแนะนำจากคนใกล้ชิด เช่นคนในครอบครัว เพื่อนฯลฯ เพศของเกษตรกร จำนวนแรงงานในการปลูกลำไย โดยปัจจัยเหล่านี้มีผลต่อโอกาสที่เกษตรกรตัดสินใจปลูกลำไยเพิ่มขึ้นระหว่างร้อยละ 21-29 นอกจากนี้ยังพบว่าจำนวนเงินลงทุนมีผลต่อโอกาสที่เกษตรจะตัดสินใจปลูกลำไยเพิ่มขึ้นน้อยที่สุดเพียงร้อยละ 18.84 นอกจากนี้ยังพบปัญหา และอุปสรรคของเกษตรกรในแต่ละด้านดังนี้คือ ปัญหาด้านการผลิตปัญหาด้านต้นทุน ปัญหาด้านตลาด และปัญหาด้านภาวะเศรษฐกิจ ในขณะเดียวกันเกษตรกรได้มีข้อเสนอแนะต่างๆ ได้แก่ รัฐบาลควรกำหนดราคาลำไยให้มีความแน่นอนไม่ผันผวนมากจนเกินไปและรัฐบาลควรเข้ามาควบคุมราคาปุ๋ยและสารเคมีให้มีราคาไม่สูงมากจนเกินไปen_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)53.57 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract266.44 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS3.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.