Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/40017
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอ.ดร.ณฉัตร์ชพงษ์ แก้วสมพงษ์-
dc.contributor.advisorอ.ดร.วรัทยา ชินกรรม-
dc.contributor.authorศิริศักดิ์ กิติเรืองแสงen_US
dc.date.accessioned2017-08-30T08:53:23Z-
dc.date.available2017-08-30T08:53:23Z-
dc.date.issued2558-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/40017-
dc.description.abstractThe object of this study is to study problem and obstruction of the Bangkok Bank staff working in Meaung Chiang Mai and to study factor affecting to Satisfaction Quality of Working Life Bangkok Bank’s Employees in Mueang Chiang Mai. The survey of opinion by questionnaire from sample 212 people for study factor affecting to Satisfaction Quality of Working Life Bangkok Bank’s Employees in Mueang Chiang Mai. The questionnaire include factor compensation it’s sufficient and equitable, factor advancement, factor capacity development opportunities, factor working place, and factor relationship in organization analyze by Ordered - Probit Model. The result of this study shown most of the samples were male 108 sample by 50.94 percentage , 21-40 years old, with status single, experience of working is 1-2 years, Work placements is level 8-9 and the income has 15,000 – 25,000 baht monthly. The result of the analysis by Ordered - Probit Model shown Quality of Working has medium level for all 5 part of factor has average scale 3.33, but consider of 5 factor find first factor is factor relationship in organization, second is factor advancement, third is factor capacity development opportunities, forth is factor compensation it’s sufficient and equitable and last factor working place. The marginal effect can shown area of probability of Complacency. The not have Complacency area (Y=0) is β'x = -2.3281. The least Complacency area (Y=1) is β'x = -2.3281 to -2.1681, the less Complacency area (Y=2) is β'x = -2.1681 to -1.4781, the medium complacency area (Y=3) is β'x = -1.4781 to -0.3181, and the most Complacency area (Y=4) is β'x > -0.3181.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)en_US
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจด้านคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานธนาคารกรุงเทพในเขตอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeFactors Affecting to Satisfaction Quality of Working Life Bangkok Bank’s Employees in Mueang Chiang Maien_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc306.361-
thailis.controlvocab.thashธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) -- พนักงาน-
thailis.controlvocab.thashคุณภาพชีวิตการทำงาน -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashความพอใจในการทำงาน -- เชียงใหม่-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 306.361 ศ373ป-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาถึงปัญหาและอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารกรุงเทพจำกัด (มหาชน) ในเขตอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ และเพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจด้านคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานธนาคารกรุงเทพจำกัด (มหาชน) ในเขตอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ โดยจะสำรวจความคิดเห็นจากแบบสอบถาม จำนวน 212 ครัวเรือน ใช้ในการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบความพึงพอใจด้านคุณภาพชีวิตพนักงานธนาคารกรุงเทพจำกัด (มหาชน) ในเขตอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ ประกอบด้วยด้านค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม ด้านความก้าวหน้า ด้านโอกาสพัฒนาขีดความสามารถ ด้านสภาพที่ทำงาน ด้านความสัมพันธ์ในองค์กร โดยใช้แบบจำลองออเดอร์โพรบิท (Ordered - Probit Model)ในการวิเคราะห์ ผลการศึกษาจากกลุ่มประชากรทั้งหมด 212 ราย พบว่ากลุ่มประชากรส่วนใหญ่เป็นเพศชายจำนวน 108 คน คิดเป็นร้อยละ 50.94 โดยส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 21–30 ปี จำนวน 145 คน คิดเป็นร้อยละ 68.40 และมีสถานภาพโสด จำนวน145 คน คิดเป็นร้อยละ 68.40 มีประสบการณ์การทำงาน1-2 ปี จำนวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 30.66 มีเจ้าหน้าที่ระดับ 9-10 จำนวน 152 คน คิดเป็นร้อยละ 71.70 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน15,001-25,000บาท จำนวน 113 คน คิดเป็นร้อยละ 53.30 ตามผลที่ได้จากการสำรวจ ผลการศึกษาคุณภาพชีวิตการทำงานจากตัวชี้วัดด้านระดับคุณภาพชีวิตการทำงาน ทั้ง 5 ด้าน พบว่ามีคุณภาพชีวิตการทำงานปานกลางเหมือนกันทั้ง 5 หมวด และค่าเฉลี่ยคุณภาพชีวิตการทำงานรวมมีคุณภาพชีวิตปานกลาง มีคะแนนเฉลี่ยเป็น 3.33 แต่เมื่อพิจารณาจากค่าเฉลี่ยคุณภาพชีวิตการทำงานแล้วจะพบว่าลำดับที่ 1 คือ คุณภาพชีวิตการทางานด้านการทำงานร่วมกันและความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น รองลงมาลำดับที่ 2 คือ คุณภาพชีวิตการทำงานด้านความก้าวหน้าและความมั่นคงในหน้าที่การงาน ลำดับที่ 3 คือคุณภาพชีวิตการทำงานด้านโอกาสในการพัฒนาขีดความรู้ความสามารถ ลำดับที่ 4 คือคุณภาพชีวิตการทางานด้านค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม ลำดับที่ 5 คือ คุณภาพชีวิตการทำงานด้านสภาพการทำงานที่ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ ผลกระทบส่วนเพิ่ม (Marginal effect) สามารถแสดงเกณฑ์อาณาเขตของค่าความน่าจะเป็นของความพึงพอใจได้ โดยอาณาเขตที่ไม่ได้รับความพึงพอใจ (Y=0) มีอาณาเขตที่ β'x2 = -2.3281 อาณาเขตที่ได้รับความพึงพอใจน้อยที่สุด (Y=1) มีอาณาเขตระหว่างค่า β'x = -2.3281 ถึง -2.1681 อาณาเขตที่ได้รับความพึงพอใจน้อย (Y=2) มีอาณาเขตระหว่างค่า β'x = -2.1681 ถึง -1.4781 อาณาเขตที่ได้รับความพึงพอใจปานกลาง (Y=3) มีอาณาเขตระหว่างค่า β'x = -1.4781 ถึง -0.3181 และอาณาเขตที่ได้รับความพึงพอใจมาก (Y=4) มีอาณาเขตระหว่างค่า β'x > -0.3181en_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)26.08 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract358.09 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS4.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.