Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39852
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนัสปรีย์ ไชยวรรณ-
dc.contributor.advisorชัยวัฒน์ นิ่มอนุสสรณ์กุล-
dc.contributor.authorอภิรัช ถาวรสุขen_US
dc.date.accessioned2016-12-12T15:44:06Z-
dc.date.available2016-12-12T15:44:06Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39852-
dc.description.abstractThe objective of this study was analyze the volatility of the returns of foreign investment fund. This study used daily data from 10 foreign investment funds during the period of 4 January 2012 to 28 December 2012.The unit root test by ADF shows that all of time series data was stationary at a 0 order of integration or I(0) The result from the VARMA-GARCH model found that historical volatility of returns of KK- PROP would affect to the current volatility of returns to an equal magnitude. The volatility of returns of SCBPGF would affect the current volatility of returns to different magnitude. The result of VARMA-AGARCH found that all of ten foreign investment funds had not asymmetric effects that mean ten foreign investment funds didn’t spill over to each other. The result of multivariate conditional volatility by using CCC model found that GW has the volatility of returns between MS-ASIAN SM, KK PROP, ABAG, SCBPGF and ASP-S&P500. T-Global-Value has the volatility of returns with TISCOUS. ASP-S&P500 has the volatility of returns between ABAG, SCBPGF and KF-WATER. KF-WATER has the volatility of returns between KK PROP, ABAG and SCBPGF. The result of DCC model found that there are not the conditional correlations because the DCC(1) and DCC(2) are significantly. Therefore, the constant conditional correlations do hold.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการวิเคราะห์ความผันผวนen_US
dc.subjectผลตอบแทนen_US
dc.subjectกองทุนรวมen_US
dc.titleการวิเคราะห์ความผันผวนของผลตอบแทนของกองทุนรวมที่ลงทุนในต่างประเทศen_US
dc.title.alternativeAnalysis of volatility of the returns of foreign investment funden_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc332.6327-
thailis.controlvocab.thashกองทุนรวม-
thailis.controlvocab.thashอัตราผลตอบแทน-
thailis.manuscript.callnumberว 332.6327 อ163ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความผันผวนของผลตอบแทนของกองทุนรวมที่ลงทุนในต่างประเทศ โดยทำการศึกษากองทุนรวมที่ลงทุนในต่างประเทศจำนวน 10 กองทุนซึ่งข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาในครั้งนี้เป็นข้อมูลรายวันตั้งแต่ 4 มกราคม พ.ศ. 2555 ถึง 28 ธันวาคม พ.ศ. 2555 ผลการทดสอบความนิ่งของข้อมูลพบว่าอัตราผลตอบแทนของกองทุนรวมที่ลงทุนในต่างประเทศทั้ง 10 กองทุนมีลักษณะนิ่งที่ผลต่างระดับที่ศูนย์ ผลการศึกษาของแบบจำลองวาร์มา-การ์ชพบว่ากองทุนเปิดเคเค พร็อพเพอร์ตี้ เซคเตอร์ พันด์มีความผันผวนของผลตอบแทนในอดีตมีผลต่อความผันผวนปัจจุบันในทิศทางเดียวกัน และความผันผวนของผลตอบแทนของกองทุนเปิดไทยพาณิชย์ แพลทตินัม โกลบอล พันด์ในอดีตมีผลต่อความผันผวนปัจจุบันในทิศทางตรงกันข้าม ผลการศึกษาของแบบจำลองวาร์มา-เอการ์ชพบว่ากองทุนทั้ง 10 กองทุนมีลักษณะอสมมาตร แสดงถึงข่าวดีหรือข่าวไม่ดีมีผลกระทบไม่เท่ากันทั้ง 10 กองทุน ผลการศึกษาความผันผวนแบบมีเงื่อนไขแบบหลายตัวแปรโดยแบบจำลองซีซีซีพบว่ากองทุนเปิด โกลบอล วอเตอร์ มีความผันผวนของผลตอบแทนระหว่างกองทุนเปิด แมนูไลฟ์ สเตร็งค์ เอเชียว สมอลแคป อิควิตี้ เอไอเอฟ กองทุนเปิดเคเค พร็อพเพอร์ตี้ เซคเตอร์ พันด์ กองทุนเปิด อเบอร์ดีน อเมริกัน โกรท ฟันด์ กองทุนเปิดไทยพาณิชย์ แพลทตินัม โกลบอล พันด์ และกองทุนเปิดแอสเซทพลัสเอสแอนด์พี 500 ส่วนกองทุนกองทุนเปิด ทิสโก้ ยูเอส อิควิตี้ ฟันด์ มีความผันผวนของผลตอบแทนกับกองทุนเปิดธนชาตโกลบอล แวยู ฟันด์ ส่วนกองทุนกองทุนเปิดแอสเซทพลัสเอสแอนด์พี 500 มีความผันผวนของผลตอบแทนกับกองทุนเปิด อเบอร์ดีน อเมริกัน โกรท ฟันด์ กองทุนเปิดไทยพาณิชย์ แพลทตินัม โกลบอล พันด์และกองทุนเปิดกรุงศรี เวิร์ล วอเตอร์ ส่วนกองทุนกองทุนเปิดกรุงศรี เวิร์ล วอเตอร์ มีความผันผวนของผลตอบแทนระหว่างกองทุนเปิดเคเค พร็อพเพอร์ตี้ เซคเตอร์ พันด์ กองทุนเปิด อเบอร์ดีน อเมริกัน โกรท ฟันด์และกองทุนเปิดไทยพาณิชย์ แพลทตินัม โกลบอล พันด์ ผลการศึกษาของแบบจำลองดีซีซีพบว่า ไม่มีสหสัมพันธ์แบบมีเงื่อนไขเชิงพลวัต เนื่องจากค่าดีซีซีหนึ่งและดีซีซีสองยอมรับสมมติฐานหลัก ดังนั้นสหสัมพันธ์ที่มีค่าคงที่จึงเป็นจริงen_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT175.27 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX848.74 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1232.39 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2566.62 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3387.32 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4565.37 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5245.46 kBAdobe PDFView/Open
CONTENT.pdfCONTENT227.88 kBAdobe PDFView/Open
COVER.pdfCOVER559.77 kBAdobe PDFView/Open
REFERENCE.pdfREFERENCE239.27 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.