Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39775
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรพล เศรษฐบุตร-
dc.contributor.advisorจุฑาทิพย์ เฉลิมผล-
dc.contributor.advisorดุษฎี ณ ลำปาง-
dc.contributor.authorพรรณี วันชัยen_US
dc.date.accessioned2016-12-12T12:23:59Z-
dc.date.available2016-12-12T12:23:59Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39775-
dc.description.abstractThe objectives of this study were 1) to find relationship between the fundamental personal characteristics, economic factors, social factors, farmer’s farming behavior and the participatory learning of farmers and 2) identify the issue and demand of farmers in the community rice seed production project in Chiang Mai Province. The number of observation was 80 farmers member of produce rice seed production project in 2011 conducted by the Rice Department and Department of Agriculture Extension in Mae Tang district, Mae Rim district, Doi Saket district and San Kamphaeng of Chiang Mai Provice. From research findings, it was found the most farmers were male with 51 years old in average graduated prathom 4th. Average household member were 4 persons. Most farmers are member of produce rice seed production project. Average of San Pathong Rice production area was 5.98 rais there was labor 3 persons on average. They had income 157,612.50 baht/rai on average, with the production cost of 15,878.75 bath/person on average and seed yield 6,365 kilograms/rai on average. The main purpose of rice seed production was seed dispersal and got higher price than normal price. All farmer received rice production technology knowledge from their experiences and members in a group. Farmers was consulted by member themselves and also contacted with extension officers. Majority of them received the agricultural information from village broadcasting tower and from their neighbors. Farming behavior was found that their had high level on farming behavior in prepare planting land, take care of the field factor, threshing, cleaning, drying and storage. Participatory learning of farmers in the community rice seed production project in Chiang Mai Province, was found that most of them were high learning participatory on the aspect of thinking learned while it was found that their were at moderate level on the aspect of planning, operating and evaluation. Relationship among fundamental personal characteristics, economic factors, social factors, farmer’s farming behavior, and farmer participatory learning on the aspect of thinking showed that cost of production and storage condition of seed were significantly related with farmers’ learning participatory. Age of farmer, total household income, rice production cost, contact with support staff from government. In addition, and farming behavior in prepare planting land were found significant related with participatory learning in planning aspect. Production cost was related with farmer learning participatory on the aspect of an evaluation. Lastly, age and experience in attending seminar regarding a seed production had a relationship with overall aspects of farmers’ participatory learning. Problems and obstacles regarding a participatory learning of farmer members who attended the community rice seed production project in Chiang Mai were lack seed production knowledge, an inadequacy of information about seed source, inadequacy of budget allocation, and supported technology for farmer members.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมen_US
dc.subjectเกษตรกรen_US
dc.subjectเมล็ดพันธุ์ข้าวen_US
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของเกษตรกร ในโครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeFactors affecting participatory learning of farmers in the community rice seed production project in Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc630.92-
thailis.controlvocab.thashเกษตรกร -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม-
thailis.controlvocab.thashข้าว -- เมล็ดพันธุ์-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 630.92 พ177ป-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ ปัจจัยทางด้านสังคมและการปฏิบัติของเกษตรกร กับการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของเกษตรกรที่ร่วมโครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรคและความต้องการของเกษตรกรที่ร่วมโครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่ ประชากรที่ทำการศึกษาในครั้งนี้ คือ เกษตรกรที่ร่วมโครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชน ปี 2554 ที่ดำเนินการโดยกรมการข้าวและกรมส่งเสริมการเกษตร จำนวน 80 ราย ในพื้นที่ อำเภอแม่แตง อำเภอแม่ริม อำเภอดอยสะเก็ด และอำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ ผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ เป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 51 ปี จบการศึกษาในระดับประถมศึกษาปีที่ 4 สมาชิกในครอบครัวเฉลี่ย 4 คน มีพื้นที่ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวสันป่าตอง 1 เฉลี่ย 5.98 ไร่ แรงงานในครอบครัวเฉลี่ย 3 คนโดยมีรายได้รวมเฉลี่ย 157,612.50 บาทต่อปี ต้นทุนการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวเฉลี่ย 15,878.75 บาทต่อคน ได้ปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 6,365 กิโลกรัมต่อไร่ โดยมีวัตถุประสงค์หลักในการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวเพื่อกระจายเมล็ดพันธุ์ และราคาเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ผลิตได้จะมีราคาสูงกว่าราคาข้าวเปลือก เกษตรกรทั้งหมดได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีเกี่ยวกับการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวจากประสบการณ์การทำนาของสมาชิกในกลุ่มและ ได้รับการถ่ายทอดจากคณะกรรมการในกลุ่ม ทุกคน เกษตรกรจะปรึกษากับสมาชิกภายในกลุ่ม อีกทั้งได้ติดต่อกับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร มีประสบการณ์ในการฝึกอบรมการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโดยได้รับข้อมูลข่าวสารการเกษตรจาก หอกระจายข่าวและเพื่อนบ้านมากที่สุด ผลการปฏิบัติของเกษตรกรในการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว ในด้านการเตรียมพื้นที่ปลูกด้านการปลูก ด้านการดูแลแปลงขยายพันธุ์ด้านการเก็บเกี่ยว การนวด การทำความสะอาด การตาก และการเก็บรักษา พบว่าเกษตรกรมีระดับของการปฏิบัติในแปลงเฉลี่ยในระดับมาก การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่ พบว่า เกษตรกรมีการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมทางความคิดอยู่ในระดับมาก มีการเรียนรู้ แบบ มีส่วนร่วมในการวางแผน ในการทำกิจกรรม และในการประเมินผล ในระดับปานกลาง และในภาพรวมเกษตรกรมีระดับของการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมทุกด้านอยู่ในระดับปานกลาง ผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะพื้นฐานส่วนบุคคล สภาพเศรษฐกิจ สภาพสังคม และการปฏิบัติของเกษตรกรกับการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของเกษตรกร โดยปัจจัยที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ ต้นทุนการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว และการปฏิบัติด้านการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ มีความสัมพันธ์กับการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมทางความคิด ส่วนอายุ รายได้รวมของครอบครัว ต้นทุนการผลิตข้าว การติดต่อเจ้าหน้าที่ส่งเสริม และการปฏิบัติด้านการเตรียมพื้นที่ปลูกมีความสัมพันธ์กับการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมด้านการวางแผน และต้นทุนในการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวมีความสัมพันธ์กับการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมด้านการประเมินผล อายุ และประสบการณ์ในการฝึกอบรมการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวมีความสัมพันธ์กับการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมโดยภาพรวม ปัญหา และอุปสรรค ในการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่ คือเกษตรกรไม่มีการเรียนรู้วิธีผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวด้วยตนเองส่วนใหญ่จะให้เจ้าหน้าที่คอยแนะนำ ขาดการประชาสัมพันธ์แหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว งบประมาณ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย เข้าไปสนับสนุนให้กับกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวen_US
Appears in Collections:AGRI: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT247.45 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX821.75 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1348.82 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2388.46 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3211.12 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4712.66 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5228.24 kBAdobe PDFView/Open
CONTENT.pdfCONTENT234.37 kBAdobe PDFView/Open
COVER.pdfCOVER649.57 kBAdobe PDFView/Open
REFERENCE.pdfREFERENCE182.42 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.