Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39761
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วีระพงษ์ แสง-ชูโต | - |
dc.contributor.advisor | นันทณี เสถียรศักดิ์พงศ์ | - |
dc.contributor.author | ศรินญา คำใส | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-12-12T10:38:28Z | - |
dc.date.available | 2016-12-12T10:38:28Z | - |
dc.date.issued | 2557-05 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39761 | - |
dc.description.abstract | การศึกษา เรื่องการวิเคราะห์ของเล่นพื้นบ้านในการส่งเสริมพัฒนาการ เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสำรวจของเล่นพื้นบ้าน ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน 2) เพื่อวิเคราะห์จัดหมวดหมู่ของเล่นพื้นบ้านในจังหวัดแม่ฮ่องสอน งานศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ และการวิจัยเชิงคุณภาพ คือผู้ศึกษาทำการสำรวจของเล่นพื้นบ้านจากสล่า ในการสร้างและวิธีการเล่นโดยมีภาคสนาม 3 อำเภอ ประกอบด้วย อำเภอปางมะผ้า อำเภอเมือง และอำเภอขุนยวม ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้เครื่องมือ แบบสำรวจของเล่นพื้นบ้านในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ออกเป็นหมวดหมู่ สามารถแบ่งออกได้ 4 ทักษะ คือ 1. ของเล่นทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่ 2.ของเล่นทักษะกล้ามเนื้อมัดเล็ก 3. ของเล่นทักษะด้านสังคม 4. ของเล่นทักษะทางสติปัญญา ผลการวิเคราะห์ประโยชน์ของเล่นพื้นบ้านในจังหวัดแม่ฮ่องสอนจำแนกตามระดับ ดังนี้ 1. ประโยชน์ด้านฝึกทักษะกล้ามเนื้อมัดเล็ก พบระดับมากที่สุด 11 รายการ 2. ประโยชน์ด้านฝึกทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่ พบระดับมากที่สุด 8 รายการ 3. ประโยชน์ ด้านฝึกทักษะทางสังคม ระดับมากที่สุด 3 รายการ 4. ประโยชน์ด้านฝึกทักษะทางสติปัญญา ระดับมากที่สุด 5 รายการ อีกทั้งเมื่อวิเคราะห์โดยใช้วิธีการเล่นเป็นเกณฑ์ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1. ประเภทเล่นแบบเดียว มีทั้งหมด 15 รายการ 2. ประเภทเล่นแบบคู่ มีทั้งหมด 15 รายการ 3. ประเภทเล่นแบบกลุ่ม มีทั้งหมด 17 รายการ โดยพบถึงวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำของเล่นส่วนใหญ่ทำจากเศษไม้ ไม้ไผ่ และกะลามะพร้าว ซึ่งเป็นวัสดุที่สามารถหาได้ตามท้องถิ่นในธรรมชาติ | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ของเล่นพื้นบ้าน | en_US |
dc.subject | พัฒนาการเด็ก | en_US |
dc.subject | เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์ของเล่นพื้นบ้านในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา | en_US |
dc.title.alternative | Analysis of folk toys in promoting development of children with cognitive challenges | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.ddc | 371.9 | - |
thailis.controlvocab.thash | เด็กพิเศษ | - |
thailis.controlvocab.thash | ความบกพร่องทางสติปัญญา | - |
thailis.controlvocab.thash | การศึกษาพิเศษ | - |
thailis.controlvocab.thash | ของเล่น -- แม่ฮ่องสอน | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว/ภน 371.9 ศ173ก | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | The research titled,” Research-Analysis of the Folk Toys for the Purpose of Development of the Children with Intellectual Disabilities” aimed at 1). surveying folk toys in Mae Hong Son Province 2.) analyzing and classifying folk toys in Mae Hong Son Province. This is a survey and qualitative research. The researcher studied the way to make and play folk toys from local techniciansin 3 districts; Pang Ma Pha, Mueang, and Khun Yuam. Data were collected by using questionnaires as a tool to survey folk toys for developing children with intellectual disabilities.Data were classified and analyzed in 4 skills including 1. Folk toys for gross motor 2. Folk toys for fine motor skills 3. Folk toys for social skills4. Folk toys for intellectual skills. The results from analyzing benefits of folk toys in Mae Hong Son Province were classified by levels as follows. At the highest level, it was found that; 1. Benefits for practice fine motor skills, 11 items 2. Benefits for practice gross motor skills, 8 items 3. Benefits for practice social skills, 3 items 4. Benefits for practice intellectual skills, 5 items. Furthermore, 3 types were classified based on how to play; 1. Single player, 15 items 2. Twoplayers, 15 items 3. Group player, 17 items. Moreover, it was found that most of folk toys were made of scraps of wood, bamboo, and coconut shells which are natural materials found easily in the local area. | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.docx | Abstract (words) | 172.5 kB | Microsoft Word XML | View/Open Request a copy |
ABSTRACT.pdf | Abstract | 167.26 kB | Adobe PDF | View/Open |
FULL.pdf | Full IS | 4.15 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.