Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39503
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorถนอมพร เลาหจรัสแสง-
dc.contributor.authorวัชรินทร์ จันทิมาen_US
dc.date.accessioned2016-08-19T08:57:16Z-
dc.date.available2016-08-19T08:57:16Z-
dc.date.issued2015-03-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39503-
dc.description.abstractThe purpose of this study was to construct the high efficiency educational application entitled “Components and Functions of Computers” for Mathayom Suksa 1 students. The samples used in this study were 41 Mathayom Suksa 1 students, Wiangjedeewittaya School Amphoe Li, Lamphun, who studied the technology and communication subject in the first semester of 2014 academic year. The instruments used in this study were : 1) an educational application entitled “Components and Functions of Computers” 2) a post evaluation test. The study was done by having students tried out the educational application to find its efficiency. Data were collected and analyzed by the use of mean and percentage. The results of this study indicated that the constructed educational application entitled “Components and Functions of Computers” had the efficiency at 85.37/87.35 level which was higher than the set criteria.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการสร้างแอพพลิเคชั่นทางการศึกษา เรื่อง องค์ประกอบและ การทำงานของคอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1en_US
dc.title.alternativeConstruction of Educational Application Entitled “Components and Functions of Computers” for Mathayom Suksa 1 Studentsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างแอพพลิเคชั่นทางการศึกษา เรื่อง องค์ประกอบและการทำงานของคอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีประสิทธิภาพ โดยใช้กลุ่มศึกษา คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเวียงเจดีย์วิทยา อ.ลี้ จ.ลำพูน ที่เรียนรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 41 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ 1) แอพพลิเคชั่นทางการศึกษา เรื่อง องค์ประกอบและการทำงานของคอมพิวเตอร์ 2) แบบทดสอบหลังเรียน ดำเนินการศึกษาโดยนำแอพพลิเคชั่นทางการศึกษา ไปทดลองใช้กับกลุ่มศึกษา จากนั้นนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์โดยการหาค่าเฉลี่ยและค่าร้อยละ ผลจากการศึกษาครั้งนี้ พบว่า แอพพลิเคชั่นทางการศึกษาที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ เท่ากับ 85.37/87.35 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้en_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)49.46 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract273.92 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
FULL.pdfFull IS10.18 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.