Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39497
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อาจารย์ ดร. กัญญ์สุดา นิ่มอนุสสรณ์กุล | - |
dc.contributor.advisor | อาจารย์ ดร. รสริน โอสถานันต์กุล | - |
dc.contributor.author | ปารุสก์ พัฒนพิบูลย์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-08-19T08:52:46Z | - |
dc.date.available | 2016-08-19T08:52:46Z | - |
dc.date.issued | 2015-02 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39497 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this study were to examine factors affecting the return of ASEAN stock exchange indexes using panel quantile regression. The data used in this research is annual data covering the period 2000 to 2012 for 1)Singapore, 2)Philippines, 3)Malaysia, 4)Thailand, 5)Vietnam and 6)Indonesia. This study used interest rates, growth rate of exchange rates, and inflation rates to analyze the data by testing the panel unit root and estimating the model with the panel quartile approach. After studying the overall economy among these three main economic factors, the result shows the solutions; 1.) Rates of return of the stock index indicators of these six countries and the overall economy have been expanded drastically, 2.) Exchange rates have appreciated greatly except the exchange rate of Vietnam, which has depreciated, and 3.) Inflation rates have increased. In estimating the relationship of economic factors influencing these six countries using Panel Quartile in order to compare with the differences in any level of growth rate of exchange rates, the result shows the solutions. In the lower level of growth rate of exchange rates, interest rates and inflation rates have not affected the rates of return on the stock index indicator, but growth ratesof exchange rates have affected the rates of return on the stock index indicator. In the middle level of growth rate of exchange rates, inflation rates have not affected the rates of return on the stock index indicator, but growth rate of exchange rates have affected the rates of return on stock index indicator. In the higher level of growth rate of exchange rates, growth rate of interest rates and inflation rates affected the rates of returns. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราผลตอบแทนของดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์อาเซียนโดยวิธีการถดถอยแบบพาแนลควอนไทล์ | en_US |
dc.title.alternative | Factors Affecting the Return of ASEAN Stock Exchange Indexes Using Panel Quantile Regression | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้มุ่งเน้นความสำคัญเพื่อศึกษาถึงอัตราของผลตอบแทนจากดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ของประเทศสมาชิกในกลุ่มอาเซียนโดยศึกษาถึงปัจจัยที่จะส่งผลต่ออัตราของผลตอบแทนจากดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ในประเทศสมาชิกกลุ่มอาเซียน ด้วยวิธีการถดถอยแบบพาแนลควอนไทล์ ซึ่งอาศัยข้อมูลเป็นรายปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544-2555 รวมทั้งสิ้น 12 ปี ซึ่งประกอบไปด้วยประเทศ ไทย สิงคโปร์ เวียดนาม อินโดนิเซีย ฟิลิปปินส์ และ มาเลเซีย และการศึกษาในครั้งนี้มุ่งให้ความสำคัญไปยังอัตราของดอกเบี้ย อัตราของการเติบโตของอัตราการแลกเปลี่ยน รวมถึง อัตราของเงินเฟ้อ ซึ่งถือว่าเป็นปัจจัยที่สำคัญในการกำหนดอัตราของผลตอบแทนจากดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ของประเทศสมาชิกในกลุ่มอาเซียน โดยผลในศึกษาถึงภาพรวมการลงทุน อัตราของดอกเบี้ย อัตราของการแลกเปลี่ยน และระดับอัตราของเงินเฟ้อในประเทศสมาชิกกลุ่มอาเซียน พบว่า อัตราของผลตอบแทนจากดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ และภาพรวมของการลงทุนของของประเทศสมาชิกในกลุ่มอาเซียน มีทิศทางที่จะขยับตัวเพิ่มขึ้น ส่วนอัตราการแลกเปลี่ยนสำหรับประเทศสมาชิกในกลุ่มอาเซียน นั้นมีทิศทางที่จะแข็งค่าขึ้นตลอดจนอัตราของเงินเฟ้อในประเทศสมาชิกในกลุ่มอาเซียน ก็มีแนวโน้มที่จะขยับตัวเพิ่มขึ้นตามกัน ในส่วนของผลการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่ออัตราของผลตอบแทนจากดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ของประเทศสมาชิกในกลุ่มอาเซียน โดยวิธีการถดถอยแบบพาแนลควอนไทล์ เป็นการศึกษาเพื่อเปรียบเทียบถึงข้อแตกต่างของปัจจัยแต่ละประเภทที่ส่งผลต่ออัตราของผลตอบแทนจากดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ ในช่วงที่ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ต่างกัน ปรากฏข้อค้นพบว่า ในช่วงที่ระดับผลตอบแทนของดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์อยู่ในระดับต่ำ และระดับกลาง ส่วนอัตราของดอกเบี้ย และ อัตราของเงินเฟ้อ จะไม่มีผลต่ออัตราของผลตอบแทนจากดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ แต่มีเพียงเฉพาะอัตราของการขยายตัวของอัตราการแลกเปลี่ยนเท่านั้น ที่มีผลต่ออัตราของผลตอบแทนจากดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ แต่อย่างไรก็ตามอัตราของผลตอบแทนจากดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ที่อยู่ในช่วงระดับสูงนั้น จากผลการศึกษาได้ข้อค้นพบว่าอัตราของการขยายตัวของอัตราการแลกเปลี่ยน อัตราของดอกเบี้ย และอัตราของเงินเฟ้อ เป็น 3 ปัจจัยที่ส่งผลต่ออัตราของผลตอบแทนจากดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ นอกจากนี้จากการศึกษาในครั้งนี้ยังค้นพบว่าอัตราของการขยายตัวสูงขึ้นของอัตราการแลกเปลี่ยนเป็นปัจจัยที่มีผลมากที่สุด ต่อช่วงอัตราของผลตอบแทนจากดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ในขั้นกลาง รองลงมาคือในขั้นสูงและในขั้นต่ำเป็นตามลำดับ | en_US |
Appears in Collections: | ECON: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.docx | Abstract (words) | 57.86 kB | Microsoft Word XML | View/Open |
ABSTRACT.pdf | Abstract | 228.52 kB | Adobe PDF | View/Open |
FULL.pdf | Full IS | 3.38 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.