Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39367
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรศ.ดร.นิสิต พันธมิตร-
dc.contributor.advisorผศ.ดร.ไพรัช กาญจนการุณ-
dc.contributor.authorนันท์นลิน ศรีบุญเรืองen_US
dc.date.accessioned2016-07-08T09:13:00Z-
dc.date.available2016-07-08T09:13:00Z-
dc.date.issued2558-07-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39367-
dc.description.abstractThe objective of this independent research was to measure the efficiency of tax collection in each municipality in Lamphun Province. The study analyzed revenue from house and building tax, signboard tax, and local development tax of 39 municipalities in the 2014 fiscal year by the method of data envelopment analysis (DEA). The analysis was divided into three parts: (1) analysis of the overall efficiency of tax collection, (2) analysis of the technical efficiency in operation and, (3) performance analysis of scale. The analysis results indicated as follows; (1) 13 municipalities had an overall efficiency of tax collection of 33.333%; (2) 22 municipalities had technical efficiency in operation of 56.41%; and (3) 14 municipalities had a scale efficiency in CRS of 35.897%, 17 municipalities had an increasing returns to scale (IRS) of 43.59%, and 8 municipalities had a decreasing returns to scale (DRS) of 20.513%. In addition, the municipalities were mostly inefficient, and were also was found to be to have a disparity of techniques in operation. Furthermore, space in the region of the municipality’s population lower than 5,000. There were also many forms of government in one district with low incomes. Therefore, the budget was insufficient. Moreover, the shortage of officers that do mapping and collect property tax caused the municipalities to be inefficient in collecting local taxes.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำพูนen_US
dc.title.alternativeTax Collection Efficiency of Local Administration in Lamphun Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวัดประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษีของเทศบาลในจังหวัดลำพูน โดยศึกษาถึงรายได้จากการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย ภาษีบำรุงท้องที่ ของเทศบาลจำนวน 39 แห่ง ในปีงบประมาณ 2557 โดยใช้วิธี Data Envelopment Analysis (DEA) แบ่งการวิเคราะห์ออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่หนึ่ง การวิเคราะห์ประสิทธิภาพโดยรวมในการจัดเก็บภาษี ส่วนที่สอง การวิเคราะห์ประสิทธิภาพจากเทคนิคในการทำงาน ส่วนที่สาม การวิเคราะห์ประสิทธิภาพความเหมาะสมจากขนาด ผลการวิเคราะห์ พบว่า ในกรณีส่วนที่หนึ่ง มีเทศบาลจำนวน 13 แห่ง (ร้อยละ 33.333) มีประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย ภาษีบำรุงท้องที่ ส่วนที่สอง มีเทศบาลจำนวน 22 แห่ง (ร้อยละ 56.41) ที่มีประสิทธิภาพจากเทคนิคในการทำงาน ส่วนที่สาม มีเทศบาลจำนวน 14 แห่ง (ร้อยละ 35.897) ที่มีประสิทธิภาพจากขนาดที่เหมาะสม (CRS) โดยที่เทศบาลส่วนใหญ่มีขนาดเล็กเกินไปที่จะจัดเก็บภาษีให้มีประสิทธิภาพ (IRS) จำนวน 17 แห่ง (ร้อยละ 43.59) และเทศบาลที่มีขนาดใหญ่เกินไปที่จะจัดเก็บภาษีให้มีประสิทธิภาพ (DRS) จำนวน 8 แห่ง หรือร้อยละ 20.513 นอกจากเทศบาลส่วนใหญ่จะไม่มีประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษีแล้ว ยังพบว่ามีความเหลื่อมล้ำด้านเทคนิคในการทำงาน, มีเขตพื้นที่ในการปกครองของเทศบาลที่มีประชากรต่ำกว่า 5,000 คนและมีการปกครองหลายรูปแบบในหนึ่งตำบลนั้นเป็นเทศบาลที่มีรายได้น้อยมีงบประมาณไม่ เพียงพอและขาดแคลนเจ้าหน้าที่ในการจัดทำแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน จึงเป็นเทศบาลที่มีขนาดเล็กเกินไปที่จะเกิดประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษีอากรท้องถิ่นen_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)177.29 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract 242.6 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS3.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.