Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39289
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์รัตนา ณ ลำพูน-
dc.contributor.authorวัลยา ไชยพรมen_US
dc.date.accessioned2016-03-08T09:06:18Z-
dc.date.available2016-03-08T09:06:18Z-
dc.date.issued2557-08-13-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39289-
dc.description.abstractThe purposes of this study were to investigate the pattern and the process of Lanna folk dance, Fon Sao Mai(cotton-weaving dance) as well as to develop the knowledge management system. A qualitative research method was used to elicit tacit knowledge from 3 experts through the SECI model. The knowledge was, then, transformed into the explicit knowledge in the form of texts, pictures, videos and website. In addition, a knowledge system was developed using Joomla program for creating the knowledge database and website (http://www.kmfonsaomai.com). Two sets of the online questionnaires were used for system evaluation of both efficiency and effectiveness. Qualitative data were analyzed using mean (xˉ) and standard deviation. Results of the research revealed that the Buariao Rattanamaneeporn traditional pattern of Fon Sao Mai consisted of 13 postures: Tha Wai (Theppanom), Tha Bitbuaban, Tha Phrayakrutbin, Tha Saomaichuaengyao, Tha Muanmaisai-kwa, ThaTakfai, ThaMuanmaitaikao, Tha Muanmaitaisok, Tha Poonglordmai, Tha Saomairobtua, Tha Kleepommai, Tha Pupenphuenpha, and Tha Pabpha. Furthermore, the Fon Sao Mai was a series of integrating the 13 postures of sitting, standing, and walking to form a slow and graceful dance movement expressing the continuous process of cloth weaving. The system evaluation by 3 experts, 2 system administrators, 4 teachers, and 26 students found that the system efficiency ranked at a high level. (xˉ= 3.54, 3.85, 4.05 and 4.36). Regarding the effectiveness of knowledge management, the teachers’ evaluation ranked the highest (xˉ = 4.65) followed by those of experts and students (xˉ = 3.61 and 4.30).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectฟ้อนสาวไหมen_US
dc.titleการจัดการความรู้นาฏศิลป์พื้นบ้านล้านนา เรื่อง การฟ้อนสาวไหมen_US
dc.title.alternativeKnowledge management of Lanna Folk dance, Fon Sao Maien_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc658.4038-
thailis.controlvocab.thashการจัดการความรู้-
thailis.controlvocab.thashการรำ--ไทย (ภาคเหนือ)-
thailis.controlvocab.thashนาฏศิลป์--ไทย (ภาคเหนือ)-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 658.4038 ว117ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบและกระบวนการฟ้อนสาวไหม โดยใช้กระบวนการจัดการความรู้และเพื่อพัฒนาระบบการจัดการความรู้ด้านนาฏศิลป์พื้นบ้านล้านนาเรื่อง การฟ้อนสาวไหมวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพใช้การประยุกต์แนวคิดโมเดล SECI ในการสกัดความรู้ฝังลึกการฟ้อนสาวไหมจากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คน และจัดทำเป็นความรู้ชัดแจ้งในรูปแบบลายลักษณ์ ภาพนิ่ง วิดีทัศน์ และเว็บไซต์ สำหรับการวิจัยเชิงพัฒนาได้พัฒนาระบบการจัดการความรู้ โดยใช้โปรแกรมจูมลาจัดทำฐานข้อมูลและเว็บไซต์ (http://www.kmfonsaomai.com) เครื่องมือที่ใช้ประเมินประสิทธิภาพการใช้งานระบบและประเมินประสิทธิผลการจัดการความรู้ของระบบ คือแบบสอบถามออนไลน์วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยสรุปว่า รูปแบบการฟ้อนสาวไหมแบบดั้งเดิมของแม่ครูบัวเรียว รัตนมณีภรณ์ มีจำนวน 13 ท่า ได้แก่ ท่าไหว้ (เทพพนม) ท่าบิดบัวบาน ท่าพญาครุฑบินท่าสาวไหมช่วงยาว ท่าม้วนไหมซ้าย-ขวา ท่าตากฝ้าย ท่าม้วนไหมใต้เข่า ท่าม้วนไหมใต้ศอก ท่าพุ่งหลอดไหม ท่าสาวไหมรอบตัว ท่าคลี่ปมไหม ท่าปูเป็นผืนผ้าและท่าพับผ้าสำหรับกระบวนการฟ้อนสาวไหมเป็นการร้อยเรียงท่าฟ้อน 13 ท่าเข้าด้วยกันตามลำดับอย่างเชื่อมโยงทั้งท่าเดิน ท่านั่ง และท่ายืนที่อ่อนช้อยและสวยงาม ทำให้ผู้ชมเห็นภาพขั้นตอนและความต่อเนื่องของการเก็บฝ้าย การปั่นฝ้าย การดึงด้ายแต่ละเส้น จนกระทั่งการทอผ้าเป็นผืน ผลการประเมินระบบของผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 4 กลุ่ม พบว่า ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คน ผู้ดูแลระบบจำนวน 2 คน ครูจำนวน 4 คนและลูกศิษย์จำนวน 26 คน เห็นว่า การใช้งานระบบมีประสิทธิภาพระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.54 3.85 4.05 และ 4.36) ด้านผลการประเมินประสิทธิผลการจัดการความรู้ของผู้ใช้ระบบ จำนวน 3 กลุ่ม คือ ครูเห็นว่าระบบมีประสิทธิผลระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.65) ส่วนผู้เชี่ยวชาญและลูกศิษย์เห็นว่าระบบมีประสิทธิผลระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.61 และ 4.30)en_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT230.81 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdf APPENDIX3.46 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1266.57 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2732.22 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3321.66 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 41.64 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5532.28 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 6.pdfCHAPTER 64.52 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 7.pdfCHAPTER 7320.57 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT211.48 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER576.94 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE258.79 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.