Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79926
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รวีวรรณ แพทย์สมาน | - |
dc.contributor.author | ณัฐวรรณ ขันคำ | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-08-02T01:15:04Z | - |
dc.date.available | 2024-08-02T01:15:04Z | - |
dc.date.issued | 2567-05-29 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79926 | - |
dc.description.abstract | This independent study research aims to study the community context and factors that promote Small and Medium Enterprises (SMEs) in the Ban Thawai Wood Carving Production, Hang Dong District, Chiang Mai Province. Additionally, the study aims to examine the involvement of community networks with local organizations in promoting small enterprises within the Ban Thawai wood carving community for long-term sustainable community development. The study adopts a mixed-method research approach, combining quantitative and qualitative research methods. Data were collected using questionnaires and in-depth semi-structured interviews from a sample of 75 individuals. The sample included 4 personnel from the Khun Khong Sub district Administrative Organization, 1 village headman, 10 representatives from the Ban Thawai Small and Medium Enterprises (SMEs) group, 5 representatives from the Ban Thawai craft group, 15 shop representatives, 20 local residents, and 20 tourists. The study found that (1) the factors promoting and preserving the craftsmanship of carved wooden artifacts in the Ban Thawai community include the use of cultural capital to promote tourism and the creation of products that reflect the community's identity (2) the involvement of community networks with local organizations is strong in joint operations but remains limited compared to the needs and potential of the community. Currently, the collaboration between community partners and local organizations has not yet been fully realized in relation to the community's needs and capabilities. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การมีส่วนร่วม | en_US |
dc.subject | วิสาหกิจขนาดย่อม | en_US |
dc.subject | ไม้แกะสลัก | en_US |
dc.subject | บ้านถวาย | en_US |
dc.subject | Participation | en_US |
dc.subject | Community Empowerment | en_US |
dc.subject | Ban Thawai Wood Carving Production | en_US |
dc.title | การมีส่วนร่วมในการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดย่อมและความเข้มแข็งของชุมชนศิลปหัตถกรรมไม้แกะสลักบ้านถวาย ในพื้นที่ตำบลขุนคง อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | The Participation in promoting small and medium-sized enterprises (SMEs) and community empowerment in Ban Thawai Wood carving production, in KhunKhong sub-district, Hang Dong district, Chiang Mai province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | ศิลปหัตถกรรม -- หางดง (เชียงใหม่) | - |
thailis.controlvocab.thash | การแกะสลักไม้ -- หางดง (เชียงใหม่) | - |
thailis.controlvocab.thash | บ้านถวาย -- หางดง (เชียงใหม่) | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทชุมชนและปัจจัยที่ส่งเสริมและอนุรักษ์ศิลปหัตถกรรมไม้แกะสลัก ในชุมชนศิลปหัตถกรรมไม้แกะสลักบ้านถวาย ตำบลขุนคง อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ และเพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของเครือข่ายชุมชนกับองค์การท้องถิ่นในการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดย่อมในชุมชนศิลปหัตถกรรมไม้แกะสลักบ้านถวาย สำหรับการพัฒนาชุมชนให้เติบโตและยั่งยืนขึ้นในระยะยาว โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงผสมผสาน ระหว่าง การวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้การรวบรวมข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์ และการสัมภาษณ์เชิงลึก แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง จากประชากรกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 75 คน ได้แก่ บุคลากรในองค์การบริหารส่วนตำบลขุนคง 4 คน ผู้ใหญ่บ้าน 1 คน ตัวแทนกลุ่มวิสาหกิจชุมชนไม้แกะสลักบ้านถวาย จำนวน 10 คน ตัวแทนกลุ่มหัตถกรรมบ้านถวาย จำนวน 5 คน ตัวแทนร้านค้า 15 คน ตัวแทนประชากรในพื้นที่ 20 คน และตัวแทนนักท่องเที่ยว 20 คน ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยที่ส่งเสริมและอนุรักษ์ศิลปหัตถกรรมไม้แกะสลักในชุมชนศิลปหัตถกรรมไม้แกะสลักบ้านถวาย ได้แก่ การใช้ทุนทางวัฒนธรรมในการส่งเสริมการท่องเที่ยว และการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่สะท้อนอัตลักษณ์ของชุมชน (2) การมีส่วนร่วมของเครือข่ายชุมชนกับองค์การท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการดำเนินงานร่วมกันแน่นแฟ้นแต่ยังเป็นวงแคบเมื่อเทียบกับความต้องการและศักยภาพของชุมชน การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนกับองค์การท้องถิ่นในปัจจุบันยังไม่ได้มีการดำเนินการร่วมกันมากนักเมื่อเทียบกับความต้องการและศักยภาพของชุมชน | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
651932019-ณัฐวรรณ ขันคำ.pdf | 1.01 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.