Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79681
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธารณ์ ทองงอก | - |
dc.contributor.advisor | ยงยุทธ ยะบุญธง | - |
dc.contributor.author | นางสาวพิชามญชุ์ ขลิบเงิน | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-07-09T10:13:00Z | - |
dc.date.available | 2024-07-09T10:13:00Z | - |
dc.date.issued | 2024-05-16 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79681 | - |
dc.description.abstract | This independent study aimed to 1) survey problems and recommendations for internal supervision in the next normal era to enhance academic achievement at Chumchonbanfonwittaya School, Lampang province, 2) study the internal supervision in the next normal era to enhance academic achievement of the model schools, and 3) develop a manual for the internal supervision in the next normal era to enhance academic achievement at Chumchonbanfonwittaya School, Lampang province. There were three steps in conducting the study: 1) study Conditions, problems, and suggestions of internal supervision in order to raise achievement in the next era. The target group used in the study was school directors. There are 33 teachers of Chunchonbanfonwittaya school. The tool used to collect data is a questionnaire with a 5-level rating scale. Statistics used in data analysis are mean, standard deviation, and frequency. 2) Study of methods for implementing internal supervision to raise achievement in the next era of schools with Best practices. The target group used was 3 school directors. The instrument used to collect data was interviews. Data were analyzed using inductive inference. and 3) drafting and reviewing the internal supervision manual to raise results in the next era. The target group was specifically selected from 5 experts. Examination of the internal supervision manual. tools used is consensus voting. The following were the findings of the study: 1. Conditions and problems of internal supervision in the next era to raise school achievement. Ban Fon Witthaya Community The condition of supervision within the next generation era of Chunchonbanfonwittaya school, Lampang Province, is overall at a moderate level. Problems in creating media/supervision tools as for the school, there is no internal supervision manual. for teachers to use as a guideline for practice 2. Studying supervision within the next era to enhance academic achievement of schools with best practices. It was found that school directors, supervisors, and supervisors should have a meeting of administrators and teachers to clarify guidelines for creating Internal supervision media/tools School directors, supervisees, and supervisees jointly design internal supervision monitoring tools. The school director is a leader in creating knowledge. understanding about Supervision tools School Supervisor Director and the person being supervised work together to create tools for supervision that enable supervision to achieve its objectives, such as supervision methods, supervision skills. Supervision techniques It is a media that is consistent with the 21st century, emphasizing the use of ICT in various forms, such as the use of social media. Teleconferencing and jointly use media/tools. 3. Drafting a manual for internal supervision in the next Way Era to enhance academic achievement of Chunchonbanfonwittaya school, Lampang Province. There are 5 steps of supervision: 1) Studying the current conditions, problems, and needs of internal supervision in the Way Era. next to raise the level of achievement 2) planning supervision within the next way of life era to raise the level of achievement 3) creating media and tools for supervision within the next way of life to raise the level of achievement 4) supervising operations within the way era Next to raise achievement 5) Evaluation and reporting results Internal supervision in the next era to raise achievement A manual for internal supervision in the next era to enhance academic achievement of Chunchonbanfonwittaya school, Lampang Province, which consists of 3 parts: which consists of 3 parts: Part 1: Introduction, including the background and importance, objectives, scope of Supervision The role of those involved in supervision within the school The success of supervision within the school Expected benefits Basic information about the school, part 2, internal supervision process Supervision structure within Chunchonbanfonwittaya school Calendar schedule for supervision work within the school internal supervision plan Putting the school supervision plan into practice, part 3, appendix, school supervision tools and the results of manual inspection through consensus as appropriate | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การจัดทำคู่มือการนิเทศภายในยุควิถีถัดไปเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ของโรงเรียนชุมชนบ้านฟ่อนวิทยา จังหวัดลำปาง | en_US |
dc.title.alternative | Creating a handbook for internal supervision in the next normal era to enhance academic achievement at Chumchonbanfonwittaya School, Lampang province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | โรงเรียนชุมชนบ้านฟ่อนวิทยา (ลำปาง) | - |
thailis.controlvocab.thash | การนิเทศการศึกษา -- ลำปาง | - |
thailis.controlvocab.thash | การฝึกสอน -- ลำปาง | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพ ปัญหาและข้อเสนอแนะของการนิเทศภายในเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ในยุควิถีถัดไปของโรงเรียนชุมชนบ้านฟ่อนวิทยา จังหวัดลำปาง 2) เพื่อศึกษาวิธีการดำเนินการการนิเทศภายในเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ในยุควิถีถัดไปของโรงเรียนที่มีแนวปฏิบัติที่ดี 3) เพื่อจัดทำและตรวจสอบคู่มือการนิเทศภายในเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ในยุควิถีถัดไปของโรงเรียนชุมชนบ้านฟ่อนวิทยา จังหวัดลำปาง โดยมีการศึกษา 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาสภาพ ปัญหาและข้อเสนอแนะของการนิเทศภายในเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ในยุควิถีถัดไป กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้อำนวยการโรงเรียน ครูผู้สอนของโรงเรียนชุมชนบ้านฟ่อนวิทยา จำนวน 33 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมีลักษณะเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และความถี่ ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาวิธีการดำเนินการการนิเทศภายในเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ในยุควิถีถัดไปของโรงเรียนที่มีแนวปฏิบัติที่ดี กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ คือ ผู้อำนวยการโรงเรียน จำนวน 3 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการสรุปแบบอุปนัย และขั้นตอนที่ 3 การร่างและตรวจสอบคู่มือการนิเทศภายในเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ในยุควิถีถัดไป กลุ่มเป้าหมายเลือกแบบเจาะจงจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน การตรวจสอบคู่มือการนิเทศภายใน เครื่องมือที่ใช้ คือการลงคะแนนฉันทามติ ผลการศึกษาพบว่า 1. สภาพ ปัญหาการนิเทศภายในยุควิถีถัดไปเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ของโรงเรียน ชุมชนบ้านฟ่อนวิทยา โดยสภาพการนิเทศภายในยุควิถีถัดไปของโรงเรียนชุมชนบ้านฟ่อนวิทยา จังหวัดลำปาง โดยรวม อยู่ในระดับปานกลาง ปัญหาด้านการสร้างสื่อ/เครื่องมือการนิเทศ ในส่วนของโรงเรียนไม่มีคู่มือการนิเทศภายใน เพื่อให้ครูใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ 2. การศึกษาการนิเทศภายในยุควิถีถัดไปเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ของโรงเรียนที่มีแนวปฏิบัติที่ดี พบว่า ผู้อำนวยการโรงเรียน ผู้นิเทศ และ ผู้รับการนิเทศควรมีการประชุมคณะผู้บริหารและครูเพื่อชี้แจงแนวทางการสร้างสื่อ/เครื่องมือการนิเทศภายใน ผู้อำนวยการโรงเรียน ผู้นิเทศ และผู้รับการนิเทศร่วมกันออกแบบเครื่องมือการติดตามการนิเทศภายใน ผู้อำนวยการโรงเรียนเป็นผู้นำในการสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ เครื่องมือการนิเทศ ผู้อำนวยการโรงเรียนผู้นิเทศ และผู้รับการนิเทศร่วมกันจัดทำเครื่องมือในการนิเทศทำให้การนิเทศที่ทำให้การนิเทศบรรลุวัตถุประสงค์ เช่น วิธีการนิเทศ ทักษะการนิเทศ เทคนิคการนิเทศ โดยเป็นสื่อที่สอดคล้องในยุคศตวรรษที่ 21 เน้นการใช้ ICT ในรูปแบบต่างๆ เช่น การใช้สื่อสังคมออนไลน์ การประชุมระบบทางไกล และร่วมกันนำสื่อ/เครื่องมือไปใช้ 3. การจัดทำร่างคู่มือการนิเทศภายในยุควิถีถัดไปเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ของโรงเรียนชุมชนบ้านฟ่อนวิทยา จังหวัดลำปาง มีการนิเทศ 5 ขั้นตอน คือ 1) การศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการของการนิเทศภายในยุควิถีถัดไปเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ 2) การวางแผนการนิเทศภายในยุควิถีถัดไปเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ 3) การสร้างสื่อและเครื่องมือการนิเทศภายในยุควิถีถัดไปเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ 4) การปฏิบัติการนิเทศภายในยุควิถีถัดไปเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ 5) การประเมินผลและรายงานผล การนิเทศภายในยุควิถีถัดไปเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ คู่มือการนิเทศภายในยุควิถีถัดไปเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ของโรงเรียนชุมชนบ้านฟ่อนวิทยา จังหวัดลำปาง ซึ่งประกอบไปด้วย 3 ส่วน คือ ซึ่งประกอบไปด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 บทนำ ได้แก่ ความเป็นมาและความสำคัญ วัตถุประสงค์ ขอบเขตของการนิเทศ บทบาทของผู้เกี่ยวข้องกับการนิเทศภายในโรงเรียน ความสำเร็จของการนิเทศภายในโรงเรียน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียน ส่วนที่ 2 กระบวนการนิเทศภายใน โครงสร้างการนิเทศภายในโรงเรียนชุมชนบ้านฟ่อนวิทยา ตารางปฏิทินปฏิบัติงานนิเทศภายในโรงเรียน แผนการนิเทศภายใน การนำแผนการนิเทศภายในโรงเรียนสู่การปฏิบัติ ส่วนที่ 3 ภาคผนวก เครื่องมือการนิเทศภายในโรงเรียน และผลการตรวจสอบคู่มือผ่านฉันทามติตามความเหมาะสม | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
650232075 พิชามญขุ์ ขลิบเงิน.pdf | 13.69 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.