Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79058
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ณัฐวุฒิ อรินทร์ | - |
dc.contributor.author | อัมรินทร์ แก้วมณี | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-10-15T07:37:28Z | - |
dc.date.available | 2023-10-15T07:37:28Z | - |
dc.date.issued | 2566-05-24 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79058 | - |
dc.description.abstract | This research is a Quasi-experimental pretest-posttest control group design. The purpose was to study the effect of Based on Group Reality Therapy to Enhancement of Adversity Quotient of Undergraduate Students to compare: 1) Adversity Quotient of Undergraduate Students in the experimental group before and after received Based on Group Reality Therapy, and 2) Adversity Quotient of Undergraduate Students in the experimental group who received Based on Group Reality Therapy and control group those who non-received Based on Group Reality Therapy. The samples of 16 adult Undergraduate Students, who meet the inclusion criteria, were studying at Chiang Mai University. They were sample random sampling and then randomly assigned to either the experimental or control groups, with 8 subjects in each group. Research instruments comprised of: 1) the experimental monitoring tool is Adversity Quotient Scale. Descriptive statistics and t-test were used in data analysis, 2) the experimental tool is Based on Group Reality Therapy. The conclusion of this research were as follows: 1) The Adversity Quotient score of persons with Undergraduate Students after received the Based on Group Reality Therapy was significantly higher than that before at the .05 level. 2) The Adversity Quotient score of persons with Undergraduate Students after received the Based on Group Reality Therapy was significantly higher than those who non-received the Based on Group Reality Therapy at the .05 level. In conclusion, the Based on Group Reality Therapy efficient Enhancement of Adversity Quotient of Undergraduate Students. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การเสริมสร้างความสามารถในการเผชิญอุปสรรคของนักศึกษามหาวิทยาลัยโดยใช้การปรึกษากลุ่มแบบพิจารณาความเป็นจริงเป็นฐาน | en_US |
dc.title.alternative | Enhancement of adversity quotient of undergraduate students based on group reality therapy | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | การแนะแนวกลุ่มในการศึกษา | - |
thailis.controlvocab.thash | การให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม | - |
thailis.controlvocab.thash | การให้คำปรึกษา | - |
thailis.controlvocab.thash | การแก้ปัญหาเป็นกลุ่ม | - |
thailis.controlvocab.thash | การแก้ปัญหา | - |
thailis.controlvocab.thash | นักศึกษา -- การให้คำปรึกษา | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยเรื่องนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดผลก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์ ศึกษาผลการใช้การปรึกษากลุ่มแบบพิจารณาความเป็นจริงเป็นฐาน เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการเผชิญอุปสรรคของนักศึกษามหาวิทยาลัย เพื่อเปรียบเทียบ 1) ความสามารถในการเผชิญอุปสรรคของนักศึกษาก่อนและหลังได้รับโปรแกรมการปรึกษากลุ่มแบบพิจารณาความเป็นจริงเป็นฐาน และ 2) ความสามารถในการเผชิญอุปสรรคของนักศึกษา ระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการปรึกษากลุ่มแบบพิจารณาความเป็นจริงเป็นฐาน กับกลุ่มที่ไม่ได้รับโปรแกรมการปรึกษากลุ่มแบบพิจารณาความเป็นจริงเป็นฐาน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่มีอายุระหว่าง 18 - 22 ปี ซึ่งมีคุณสมบัติตามเกณฑ์การคัดเข้าจำนวน 16 คน ด้วยการสุ่มอย่างง่ายโดยการจับฉลากเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 8 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 2 ชุด คือ 1) แบบวัดความสามารถในการเผชิญอุปสรรค 2) โปรแกรมการปรึกษากลุ่มแบบพิจารณาความเป็นจริงเป็นฐาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบค่าที ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ 1. นักศึกษากลุ่มทดลองมีความสามารถในการเผชิญอุปสรรคหลังการทดลองสูงขึ้นกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักศึกษากลุ่มทดลองมีความสามารถในการเผชิญอุปสรรคหลังการทดลอง สูงกว่านักศึกษากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากผลการวิจัยสามารถสรุปได้ว่า โปรแกรมการปรึกษากลุ่มแบบพิจารณาความเป็นจริงเป็นฐานสามารถเสริมสร้างความสามารถในการเผชิญอุปสรรคของนักศึกษาได้ | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610132044-อัมรินทร์ แก้วมณี.pdf | 3.87 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.