Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78376
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสายนที เฉินบำรุง-
dc.contributor.authorณัฐพล ไตรเกษมen_US
dc.date.accessioned2023-07-09T04:23:40Z-
dc.date.available2023-07-09T04:23:40Z-
dc.date.issued2023-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78376-
dc.description.abstractMedical Physician is one of the most stressful careers in the world. If a physician cannot properly manage the stress, it could lead them to Job Burnout which is a condition that contains with Emotional Exhaustion, Depersonalization and Decreased Personal Accomplishment. This independent study has focused on the level of Job Burnout and the correlation between Job Stressors and Job Burnout. Of the 398 samples taken by a questionnaire across all Physician Specialties, 56.5% were female and 43.5% were male, all were aged between 30 - 40 years old working in Thailand. The collected data was analyzed by descriptive statistics (Frequency, Percentage, Mean and Standard Deviation) and inferential statistics (Biserial Correlation and Binary Logistic Regression Analysis). The study shows that physicians working in Thailand have a high level of Emotional Exhaustion, Depersonalization and Reduced Personal Accomplishment in Job Burnout, the mean of the score are 24.77, 9.79 and 10.29 respectively. The Job Stressors including Workload, Working Environment, Work-Family Conflict and Organization have a significant correlation with Emotional Exhaustion and Depersonalization. But Workload and Working Environment have an inverted correlation with Reduced Personal Accomplishment significantly. Moreover, Dayshift Working, Working Hazard, Work-Family Conflict and Executive Management Skills are associated with a high level of Emotional Exhaustion. Day and Night shift Working and Executive Management Skills are associated with a high level of Depersonalization.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความเครียดจากงานที่ส่งผลต่อภาวะหมดไฟในการทำงานของแพทย์ในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeJob stressors aaffecting job burnout of physicians in Thailanden_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashความเครียดในการทำงาน-
thailis.controlvocab.thashแพทย์ -- ความเครียดในการทำงาน-
thailis.controlvocab.thashแพทย์ -- ความพอใจในการทำงาน-
thailis.controlvocab.thashสมดุลชีวิตการทำงาน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิชาชีพแพทย์ เป็นวิชาชีพที่ต้องเผชิญกับความเครียดในการทำงานอยู่เสมอ หากไม่สามารถจัดการความเครียดที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง อาจจะนำมาสู่ภาวะหมดไฟในการทำงาน ประกอบด้วย ความเหนื่อยล้าทางอารมณ์ การลดความเป็นคน และการด้อยความสำเร็จ การศึกษานี้จึงมุ่งเน้นที่จะศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดจากงานกับภาวะหมดไฟในการทำงาน และระดับของภาวะหมดไฟในการทำงาน ในกลุ่มตัวอย่างแพทย์ในประเทศไทยทุกสาขา จำนวน 398 คน เพศหญิงร้อยละ 56.5 เพศชายร้อยละ 43.5 มีอายุระหว่าง 30 - 40 ปี โดยใช้แบบสอบถามและนำมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน คือ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบไบซีเรียล และการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกทวิ ผลการศึกษาพบว่าแพทย์ในประเทศไทยส่วนมากมีความเหนื่อยล้าทางอารมณ์ระดับสูง การลดความเป็นคนระดับสูง และการด้อยความสำเร็จระดับสูง โดยมีคะแนนเฉลี่ย 24.77, 9.79 และ 10.29 ตามลำดับ ซึ่งปัจจัยความเครียดจากงาน ด้านภาระงาน ด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน ด้านความขัดแย้งระหว่างงานและครอบครัว และด้านองค์กร ต่างมีความสัมพันธ์ทิศทางเดียวกันกับความเหนื่อยล้าทางอารมณ์ และการลดความเป็นคน แต่ปัจจัยความเครียดจากงานด้านภาระงานและด้านสภาพแวดล้อมในการทำงานมีความสัมพันธ์ในทิศตรงข้ามกับการด้อยความสำเร็จ นอกจากนี้ยังพบว่า การตรวจรักษาในเวลาทำการ ความเสี่ยงที่จะได้รับอันตรายจากการตรวจรักษา ผลกระทบจากงานและครอบครัว และความสามารถในการบริหารองค์กรในภาพรวมของผู้บริหารมีความสัมพันธ์กับความเหนื่อยล้าทางอารมณ์ระดับสูง การตรวจรักษาในและนอกเวลาทำการ และความสามารถในการบริหารองค์กรในภาพรวมของผู้บริหารมีความสัมพันธ์กับการลดความเป็นคนระดับสูงen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
641532023_ณัฐพล ไตรเกษม.pdf2.32 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.