Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78253
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิลาวัณย์ เตือนราษฎร์-
dc.contributor.advisorศิวพร อึ้งวัฒนา-
dc.contributor.authorฐิตารัตน์ โกเสสen_US
dc.date.accessioned2023-07-01T05:37:09Z-
dc.date.available2023-07-01T05:37:09Z-
dc.date.issued2022-01-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78253-
dc.description.abstractProper consumption in persons with type 2 diabetes is essential to control blood sugar levels. This quasi-experimental research which included two groups, pretest-posttest, investigated the effects of a self-regulation program for dietary management and blood sugar levels among persons with uncontrolled type 2 diabetes in a community. The sample group consisted of persons with uncontrolled type 2 diabetes under the responsibility of the district health promotion hospital, who were allocated, by simple random sampling, to a group which received the program or a group which received regular care. Purposive sampling was used, with 44 persons divided into a group which received the program (22 persons) and a group which received regular care (22 persons). The instruments utilized in the study included the self-regulation program, designed by the researcher, and based on the self-regulation concept (Bandura, 1991), for a duration 8 weeks. Furthermore, a dietary management guide, media and equipment, a successful model of self-care, and a blood sugar meter were included. The data collecting instruments consisted of a demographic data questionnaire, a dietary management practice questionnaire, and a blood sugar record. Content validity index of all three instruments was 1 and the Cronbach’s alpha coefficient of 0.76. The data were analyzed using a paired-samples T-test and an independent-sample T-test. The results revealed that the group which received the program had significantly higher average scores for dietary management than before participating in the program (p = 0.001), and more than the group that received regular care (p = 0.039). There was also a significant reduction in the blood sugar before their participation in the program (p = 0.020), which reduced more than the group that received regular care (p = 0.013). The findings revealed that self-regulation programs for dietary management in persons with type 2 diabetes can be used to promote modification of dietary management and could lead to control of blood sugar levels in uncontrolled type 2 diabetes in a community.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของโปรแกรมการกำกับตนเองต่อการจัดการอาหารและระดับน้ำตาลในเลือดในผู้ที่มีภาวะเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมไม่ได้ในชุมชนen_US
dc.title.alternativeEffects of the self-regulation program on dietary management and blood sugar levels among persons with uncontrolled type 2 diabetes in communityen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashเบาหวาน -- ผู้ป่วย -- การรักษา-
thailis.controlvocab.thashน้ำตาลในเลือด-
thailis.controlvocab.thashการกำหนดอาหาร-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ที่มีภาวะเบาหวานชนิดที่ 2 จำเป็นต้องมีพฤติกรรมการ บริโภคที่เหมาะสม การวิจัยกึ่งทดลอง (quasi-experimental research) แบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลัง (two groups pretest-posttest design) นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการกำกับตนเอง ต่อการจัดการอาหารและระดับน้ำตาลในเลือด ในผู้ที่มีภาวะเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมไม่ได้ใน ชุมชน กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ที่มีภาวะเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมไม่ได้ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล โดยทำการสุ่มอย่างง่าย (simple random sampling) เป็นกลุ่ม ที่ได้รับโปรแกรมการกำกับตนเองและกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบ เฉพาะเจาะจง (purposive sampling) ได้กลุ่มตัวอย่าง 44 ราย แบ่งเป็นกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการ กำกับตนเอง 22 ราย และเป็นกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ 22 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินการ ได้แก่ โปรแกรมการ กำกับตนเอง ที่ผู้วิจัยพัฒนามาจากแนวคิดการกำกับตนเอง (Bandura, 1991) ระยะเวลา 8 สัปดาห์ คู่มือการจัดการอาหาร สื่อและวัสดุอุปกรณ์ ตัวแบบที่ประสบความสำเร็จในการดูแลสุขภาพตนเอง และเครื่องตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด ส่วนเครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูล ทั่วไป แบบสอบถามการปฏิบัติการจัดการอาหาร และแบบบันทึกการวัดระดับน้ำตาลในเลือด ตรวจสอบค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาของเครื่องมือทั้งสามฉบับ เท่ากับ 1 และหาค่าความเชื่อมั่นด้วย ค่าสัมประสิทธิ์สัมพันธ์แอลฟ้าครอนบาค เท่ากับ 0.76 วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติ Paired-sample T-test และ Independent-sample T-test ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการกำกับตนเอง มีคะแนนเฉลี่ยการปฏิบัติการจัดการ อาหารสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมการกำกับตนเอง (p = 0.001) สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาล ตามปกติ (p = 0.039) และมีค่าน้ำตาลในเลือดลดลงมากกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมการกำกับตนเอง (p = 0.020) และลดลงมากกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ (p = 0.013) ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า โปรแกรมการกำกับตนเองในการจัดการอาหารสำหรับผู้ที่มีภาวะ เบาหวานชนิดที่ 2 สามารถส่งสริมการปรับเปลี่ยนการปฏิบัติการจัดการอาหาร และสามารถนำไปสู่ การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดในผู้ที่มีภาวะเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมไม่ได้ในชุมชนได้en_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621231007 ฐิตารัตน์ โกเสส.pdf1.87 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.