Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73627
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเกศินี เกตุพยัคฆ์-
dc.contributor.advisorทฤษฎี คาหล่อ-
dc.contributor.authorสุณัฏฐิณี วินิชชากรen_US
dc.date.accessioned2022-07-13T01:12:56Z-
dc.date.available2022-07-13T01:12:56Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73627-
dc.description.abstractThe genetic of basic coat color was determined by the distribution of eumelanin and pheomelanin, the ratio of most was controlled by the polymorphisms at the Melanocortin-1 receptor (MCIR) and Agouti Signaling Protein (ASIP) loci, creating a black, bay, or chestnut coat color. The purpose of this study was to identified the basic coat color of horse breeder and analysis of the relationship between coat color genetics and behavior handling in horses in Veterinary and Agriculture Division 1, Veterinary and Remount Department, Royal Thai Army for dark horse breeding program. The total of 305 blood samples were collected and extracted genomic DNA. Samples were genotyped at the Extension (E) locus, Melanocortin-1 Receptor (MC1R) gene and the Agouti (A) locus, Agouti-Signaling Protein (ASIP) gene. The result showed high heterozygous genotype Ee (0.53) and Aa (0.56) in the population. The alleles frequencies ratio of E and e allele were (0.68) and (0.32) but allele A had a ratio of allele A equal to allele a (0.50 and 0.50). Analyses of variance indicated frequency of allele a was highest (0.79) in Oldenburg compared to the other breeds (P<0.05) together with high E allele frequency (0.72) which is advantage to produce black coat color. Although, the horse with homozygous black (EEaa) is our first priority that will complete black horse for military parade but less are found in the population (8.34%). The study of the relationship between coat color and behavior used 29 animals grouped by genotypes to determine the basic training behaviors. The experiment horses had an average age of 2 years were trained and collected data for 3 weeks. It was found that training a horse to accept halter, remember their stall, familiarity to trainer and grooming were not significantly different. But the behavior of grooming tends to have a favorable response in EeAA, the genetic information from this study could be useful for dark horse production. The results of genotype grouping for behavioral training can be easier to train horses for optimal utilization.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างพันธุกรรมสีขนต่อพฤติกรรมการฝึกพื้นฐานของม้าen_US
dc.title.alternativeRelationship between coat color genetic and basic training horse behavioren_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashม้า -- การฝึก-
thailis.controlvocab.thashม้า -- พันธุกรรม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractพันธุกรรมสีขนพื้นฐานของม้าขึ้นอยู่กับการกระจายตัวของเม็ดสี ยูเมลานิน (eumelanin) และฟีโอเมลานิน (pheomelanin) ซึ่งอัตราส่วนการกระจายตัวของเม็ดสีถูกควบคุมโดยความหลากหลายของยีน 2 ชนิด คือ Melanocortin-1 receptor (MC1R) และ Agouti signaling protein (ASIP) ซึ่งจะสร้างสีขนพื้นฐานคือ สีดำ สีเบย์ และสีเชสนัท วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้คือ เพื่อจำแนกพันธุกรรมของสีขนพื้นฐานในประชากรม้าพ่อแม่พันธุ์ และแม่พันธุ์ทดแทน และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างพันธุกรรมสีขนและพฤติกรรมการฝึกพื้นฐานของม้า โดยใช้สัตว์ทดลองจากกองการสัตว์เกษตรกรรมที่ 1 กรมการทหารบก จ.กาญจนบุรี จำนวน 305 ตัว เก็บตัวอย่างเลือดแล้วนำมาสกัดดีเอ็นเอเพื่อนำมาตรวจสอบจุดกลายพันธุ์ของยีน MC1R โดยการเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอด้วยปฎิกิริยา Polymerase chain reaction (PCR) และหาจุดกลายพันธุ์ที่ตำแหน่ง C901T ด้วยวิธี Restriction fragment length polymorphism (RFLP) และตรวจสอบจุดกลายพันธุ์ของยืน ASIP ด้วยวิธีเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอด้วยปฏิกิริยา PCR เพื่อตรวจสอบลำดับเบสที่หายไป 11 bp จากการทดลองพบว่า จีโนไทป์ที่พบมากที่สุดในประชากรคือ Ee (0.53) และ Aa (0.56) และในกลุ่มประชากรมีความถี่ของอัลลีล E (0.68), e (0.32), A (0.50) และ a (0.50) ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบแยกตามสายพันธุ์พบว่าสายพันธุ์ โอเดนเบิร์กมีความถี่อัลลีถ a (0.79) สูงกว่าสายพันธุ์อื่นอย่างมีนัยสำคัญ (P <0.05) อีกทั้งมีความถี่อัลลีล E (0.72) สูงกว่าสายพันธุ์อื่น ซึ่งเป็นผลดีในการผลิตม้าสีเข้มแม้ว่าจีโนไทป์ EEaa เป็นจีโนไทป์สำคัญอันดับแรกในการผลิตม้าสีเข้มแต่กลับพบได้น้อยที่สุดในประชากร (8.34%) ดังนั้นควรเก็บม้ากลุ่มนี้ไว้เพื่อใช้เป็นแหล่งพันธุกรรมในการผลิตม้าสีเข้มในรุ่นถัดไป ในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพันธุกรรมสีขนและพฤติกรรม ใช้ม้ารุ่นอายุเฉลี่ย 2 ปี จำนวน 29 ตัวโดยแบ่งกลุ่มตามจีโนไทป์และศึกษาการตอบสนองของพฤติกรรมจากการฝึกพื้นฐาน พบว่า พฤติกรรมการจับจูงใส่ขลุม การเข้าคอกตัวเอง การสร้างความคุ้นเคยกับผู้เลี้ยง และการยอมให้ตกแต่งร่างกาย (grooming) ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่พฤติกรรมการยอมให้ตกแต่งร่างกาย มีแนวโน้มในการตอบสนองที่ดีในม้าที่มีพันธุกรรมแบบ EcAA ดังนั้นข้อมูลทางพันธุกรรมจากการศึกษานี้จะเป็นประ โยชน์สำหรับการวางแผนการเพื่อผลิตม้าสีเข้มอย่างแม่นยำ และผลจากการแบ่งกลุ่มตามจีโนไทป์เพื่อฝึกพฤติกรรมจะสามารถแบ่งกลุ่มเพื่อให้ง่ายต่อการฝึกม้าเพื่อการใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสมen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610831068 สุณัฏฐิณี วินิชชากร.pdf1.98 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.