Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46109
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผทัยรัตน์ ภาสน์พิพัฒน์กุล-
dc.contributor.advisorชูเกียรติ ชัยบุญศรี-
dc.contributor.authorกนกวรรณ อติชาตen_US
dc.date.accessioned2018-04-17T08:44:51Z-
dc.date.available2018-04-17T08:44:51Z-
dc.date.issued2558-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46109-
dc.description.abstractThe objective of this research is study relationship between a satisfaction and return visit again of Thai traveler at Chaeson National Park, Lampang Province. The data was collected 400 samples by using questionnaire. The data analysis was applied descriptive statistics and Bivariate Probit model. The result shows that most Thai traveler was females more than males ;except ages 21 - 30 years old, most of them were married, bachelor’s degree, student, average income is 10,000฿, and domicile in Lampang province. The main propose of travel is recreation. The source of finding attractions is friend. The accommodation is resorts. A person that traveling with is a friend. A trip is travel via personal car. A frequency of travel is 1-2 time. Duration of the trip is 1 day. The expend on trip not more than 1000฿. The most of traveler are satisfaction and return visit again. The analysis with Bivariate Probit model is study Independent variables which affect to satisfaction and return visit again of traveler. The test of rho=0.732 that means satisfaction and return visit again of traveler have high relationship in the same direction significantly. And factor affect relationship at Significant level 0.05 In case of satisfaction are expend on trip, placement-channel of distribution and personal factor, case of return visit again of traveler are expend on trip and less than a Bachelor’s degree.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความพึงพอใจen_US
dc.subjectนักท่องเที่ยวชาวไทยen_US
dc.subjectอุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน จังหวัดลำปางen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจและการเดินทางกลับมาเที่ยวซ้ำของนักท่องเที่ยวชาวไทยในอุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน จังหวัดลำปางen_US
dc.title.alternativeRelationship Between Satisfaction and Repeat Tourism at Chaeson National Park, Lampang Provincesen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc658.8342-
thailis.controlvocab.thashนักท่องเที่ยว -- ไทย-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค-
thailis.controlvocab.thashความพอใจของผู้ใช้บริการ-
thailis.controlvocab.thashลำปาง -- ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 658.8342 ก151ค-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจและการเดินทางกลับมาเที่ยวซ้ำของนักท่องเที่ยวชาวไทยในอุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน จังหวัดลำปาง ซึ่งได้ทำการสุ่มตัวอย่างจำนวน 400 ตัวอย่าง โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล ในส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลได้ใช้การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) และการวิเคราะห์แบบจำลองไบวาริเอจโพรบิท (Bivariate Probit Model) จากการศึกษาพบว่านักท่องเที่ยวชาวไทยส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย อายุอยู่ในช่วง 21–30 ปี มีสถานภาพสมรสเป็นส่วนใหญ่ ระดับการศึกษาปริญญาตรีมากที่สุด ส่วนใหญ่เป็นนักเรียน/นักศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่ำกว่า 10,000 บาท และภูมิลำเนาอยู่จังหวัดลำปาง วัตถุประสงค์หลักในการเดินทางท่องเที่ยวเพื่อพักผ่อนหย่อนใจ แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการค้นหาสถานที่ท่องเที่ยวคือ เพื่อน/คนรู้จัก ส่วนใหญ่พักรีสอร์ท บุคคลที่ร่วมเดินทางด้วยคือเพื่อน ใช้รถยนต์เป็นพาหนะในการเดินทาง ส่วนใหญ่เดินทางมาท่องเที่ยว 1-2 ครั้ง ใช้ระยะเวลาในการท่องเที่ยว 1 วัน มีค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยวต่ำกว่า 1,000 บาท ส่วนใหญ่พึงพอใจในการท่องเที่ยว และจะเดินทางกลับมาท่องเที่ยวซ้ำ ผลการวิเคราะห์ด้วยแบบจำลองไบวาริเอจโพรบิท พบว่าการทดสอบค่า rho=0.732 หมายความว่าความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจและการเดินทางกลับมาเที่ยวซ้ำของกลุ่มตัวอย่างนั้นมีความสัมพันธ์กันสูงในทิศทางเดียวกันอย่างมีนัยสำคัญ และปัจจัยที่ส่งผลต่อความสัมพันธ์ ณ ระดับนัยสำคัญ 0.05 ในกรณีตัวเลือกคือ ความพึงพอใจ ได้แก่ ค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยว ปัจจัยด้านช่องทางการจัดจำหน่าย และปัจจัยด้านบุคลากร กรณีตัวเลือกคือ การเดินทางกลับมาเที่ยวซ้ำ ได้แก่ ค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยว และระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีen_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)60.93 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract195.61 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS3.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.