Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46076
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิสิต พันธมิตร-
dc.contributor.advisorไพรัช กาญจนการุณ-
dc.contributor.authorแสงหล้า ปิ่นซ้อนen_US
dc.date.accessioned2018-04-10T06:48:49Z-
dc.date.available2018-04-10T06:48:49Z-
dc.date.issued2558-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46076-
dc.description.abstractThis is an independent research on a Relationship Between Inflation and Government Expenditure in Chiang Mai Province. The used data is an annual secondary data analysis that relates to Consumer Price Index, Current and Investment Expenditure in Chiang Mai within January 2006 – December 2014. Then the percent of change was calculated as monthly data. The test results of stationary found all data was statistically significant at the 0.01 level indicating that all the data was stationary I(0). The estimate lag found that the appropriate level was 1 Lag. The analysis results under VAR model found that the percent increase of consumer price index a month earlier will result in its rise in the next month. And the percent increase of consumer price indexa month earlier will result in a current expenditure rise in the next month.Including the percent increase of current expenditure a month earlier will result in an investment expenditure rise in the next month too. This relationship will have an ongoing impact.Howevertheanalysis results found thatthere are no variables which affect the percent of change of consumer price index . The Impulse Response Function Analysis showed that sudden changes in the past of the significant inflation will be adjusted to the equilibrium after 1 year.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectอัตราเงินเฟ้อen_US
dc.subjectการใช้จ่ายen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเงินเฟ้อและการใช้จ่ายของรัฐบาลในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeRelationship Between Inflation and Government Expenditure in Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc336.39-
thailis.controlvocab.thashรายจ่ายของรัฐ -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashเงินเฟ้อ -- เชียงใหม่-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 336.39 ส729ค-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาในครั้งนี้เป็นการศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างดัชนีราคาผู้บริโภคจังหวัดเชียงใหม่ รายจ่ายประจำ และรายจ่ายลงทุนในเชียงใหม่ โดยการศึกษาได้ใช้ข้อมูลทุติยภูมิ3ข้อมูลได้แก่ดัชนีราคาผู้บริโภคจังหวัดเชียงใหม่ รายจ่ายประจำ และรายจ่ายลงทุน แล้วคำนวณหาอัตราการเปลี่ยนแปลงโดยเป็นข้อมูลรายเดือนตั้งแต่เดือนมกราคมพ.ศ. 2549 – เดือนธันวาคมพ.ศ. 2557 การทดสอบความนิ่งของข้อมูลผลปรากฏว่าข้อมูลทุกตัวมีลักษณะนิ่งที่ I(0)การพิจารณาความล่าช้าหรือ Lag ที่ใช้ในการประมาณค่าพบว่าค่า lag ที่เหมาะสมที่ระดับ 1 Lag ผลการวิเคราะห์แบบจำลอง VARพบว่าอัตราเงินเฟ้อเพิ่มขึ้นใน 1 เดือนก่อนหน้า จะส่งผลทำให้อัตราเงินเฟ้อเพิ่มขึ้นใน 1 เดือนถัดไปและอัตราการเปลี่ยนแปลงของอัตราเงินเฟ้อเพิ่มขึ้นใน 1 เดือนก่อนหน้า จะส่งผลทำให้รายจ่ายประจำเพิ่มขึ้นใน 1 เดือนถัดไปอีกทั้งเมื่ออัตราการเปลี่ยนแปลงของรายจ่ายประจำเพิ่มขึ้นใน 1 เดือนก่อนหน้า จะส่งผลทำให้รายจ่ายลงทุนเพิ่มขึ้นใน 1 เดือนถัดไปซึ่งความสัมพันธ์ดังกล่าวจะส่งผลกระทบสืบเนื่องกันไปแต่อย่างไรก็ตามในช่วงเวลาการศึกษานี้อัตราการเปลี่ยนแปลงของรายจ่ายประจำและลงทุนไม่ส่งผลต่อการเกิดอัตราเงินเฟ้อ ส่วนการวิเคราะห์Impulse Response Function พบว่าการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันในอดีตของดัชนีราคาผู้บริโภคที่มีนัยสำคัญจะมีการปรับตัวกลับเข้าสู่ดุลยภาพหลังจาก 1 ปี ขึ้นไปen_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5Abstract.docxAbstract (words)179.16 kBMicrosoft Word XMLView/Open
full.pdfFull IS4.15 MBAdobe PDFView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract255.39 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.