Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/40009
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอ.ดร.ไพรัช พิบูลย์รุ่งโรจน์-
dc.contributor.advisorอ.ดร.อนุภาค เสาร์เสาวภาคย์-
dc.contributor.advisorผศ.ดร.ชูเกียรติ ชัยบุญศรี-
dc.contributor.authorมัลลิกา ริมสกุลen_US
dc.date.accessioned2017-08-30T07:36:24Z-
dc.date.available2017-08-30T07:36:24Z-
dc.date.issued2558-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/40009-
dc.description.abstractThis study on the factors affecting faculty members’ decision making in the textbook supply chain, the case of Chiang Mai University, has two objectives: 1) to understand the factors determining the decision of faculty members of Chiang Mai University to produce textbooks, and 2) to probe into the process to publish technical papers/textbooks written by CMU faculty members. The information for the present investigation was collected from 165 samples of CMU faculty members. Both descriptive and quantitative methods were used for the analysis particularly the application of logistic regression technique for analysis of factors affecting faculty members’ decision in the past, at present, and in the future to produce textbooks. From the information on general personal background, it was found that the majority of questionnaire respondents were characterized as female, 41 – 50 years old, with the highest educational attainment at doctorate degree level, and in most cases holding the academic position as lecturer followed by assistant professor. Most samples under study revealed, up to the present, they had not yet produced any textbook. However, in the future, their likelihood to produce textbooks would be greater than otherwise. From the investigation on the marginal gain in terms of academic benefit from textbook production, the CMU faculty members appeared to place primary importance on the advancement in their knowledge and scholastic capability. Meanwhile, the examination on the marginal cost of textbook production venture revealed that the faculty members gave very high consideration to the factors of textbook preparation, textbook production, and market distribution. To answer the second objective of the present study, an interview was made with personnel of Chiang Mai University Press regarding the publication of textbooks and technical papers written by CMU faculty members. It was found that there were three main factors giving rise to problems and obstacles in the preparation to produce textbooks including 1) the personal factor on the part of faculty members themselves, 2) the factor of economic return, and 3) the factor concerning the presentation of pictures and other illustrations in the textbooks. Generally, Chiang Mai University Press has confronted no problem in the process of producing textbooks written by CMU faculty members as clear rules and regulations have been established on the procedures for the preparation and production of technical papers/textbooks. Individual faculty member can get the printing shop or printing house to lay out the printing format for the book and make adjustment appropriately as required by the author. In the aspect of market distribution, Chiang Mai University Press considered the textbook market was quite narrow giving rise to a rather stable sale volume. This is due to its inability to open new market which is in turn consequential to its limited function as an organ of Chiang Mai University. Thus, Chiang Mai University Press so far has been operated not so much for business interest but mostly for the publication of outputs of CMU faculty members rather than for profit.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ -- อาจารย์en_US
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจในห่วงโซ่อุปทานตำราเรียนของอาจารย์ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeFactors Affecting Decision Making in the Textbook Supply Chain: A Case of Chiang Mai Universityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc371.32-
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ -- อาจารย์-
thailis.controlvocab.thashตำรา-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 371.32 ม117ป-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจในห่วงโซ่อุปทานตำราเรียนของอาจารย์ ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา 2 วัตถุประสงค์ ได้แก่ 1.เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจในการผลิตตำราเรียนของอาจารย์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ 2.เพื่อศึกษาขั้นตอนการการจัดพิมพ์ผลงาน/ตำราเรียนของอาจารย์ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในการศึกษาครั้งนี้กลุ่มตัวอย่างคือ อาจารย์ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 165 คน โดยใช้วิธีการวิเคราะห์เชิงพรรณนา (Descriptive Method) และเชิงปริมาณ (Quantitative) รวมทั้งการใช้แบบจำลอง Logistic Regression ในการวิเคราะห์เกี่ยวกับปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการตัดสินใจผลิตตำราเรียนของอาจารย์ทั้งในอดีต ปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคตต่อไป สำหรับผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์แรก พบว่าข้อมูลทั่วไปของอาจารย์ที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่จะเป็นเพศหญิงมีอายุระหว่าง 41 - 50 ปี ซึ่งระดับการศึกษาสูงสุดอยู่ในระดับปริญญาเอก และตำแหน่งทางวิชาการพบว่าส่วนใหญ่จะอยู่ในระดับอาจารย์ รองลงมา คือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ซึ่งในอดีตพบว่าส่วนมากแล้วอาจารย์ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ไม่เคยผลิตตำราเรียนเลย แม้กระทั่งปัจจุบันไม่ได้ผลิตตำเรียนเช่นกัน แต่แนวโน้มการผลิตตำราเรียนในอนาคตของอาจารย์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พบว่ามีแนวโน้มที่จะดำเนินการผลิตตำราเรียนมากกว่าที่จะไม่ผลิตตำราเรียน สำหรับผลการศึกษาประโยชน์ส่วนเพิ่มด้านวิชาการ อาจารย์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่จะให้ความสำคัญระดับมากที่สุดในการผลิตตำราเรียนเพื่อยกระดับความรู้ความสามารถ สำหรับการศึกษาด้านต้นทุนส่วนเพิ่ม พบว่าอาจารย์จะให้ความสำคัญอยู่ในระดับมากทั้งสามด้านได้แก่ ด้านการเตรียมการ, การผลิต และกระจายสินค้า โดยผลการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจผลิตตำราเรียนในอดีตของอาจารย์ ได้แก่ อายุ ตำแหน่งทางวิชาการ และความยุ่งยากในการเตรียมการผลิตตำราเรียน สำหรับปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจผลิตตำราเรียนในปัจจุบันของอาจารย์ คือ อายุ, การผลิตตำราเรียนเพื่อยกระดับการเรียน การสอน, รายได้และผลตอบแทนทางวิชาการ และความพยายามในการกระจายสินค้า โดยปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจผลิตตำราเรียนในอนาคตของอาจารย์ ได้แก่ อายุ, การผลิตตำราเรียนเพื่อยกระดับการเรียนการสอน, ความพยายามในการกระจายสินค้า และความยุ่งยากในการกระจายสินค้า สำหรับผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์ที่สอง พบว่าการสัมภาษณ์สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เกี่ยวกับการผลิตตำราเรียนและผลงานทางวิชาการของอาจารย์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ด้านการเตรียมการผลิตตำราเรียน มีปัจจัยที่เป็นปัญหาและอุปสรรค 3 ปัจจัย ได้แก่ 1.ปัจจัยที่เกิดขึ้นกับอาจารย์ 2.ปัจจัยด้านผลตอบแทน และ 3.ปัจจัยในด้านการจัดทำตำราเรียน ที่เกี่ยวกับรูปภาพการนำเสนอ ด้านการผลิตตำราเรียน สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ให้ความเห็นว่ามักไม่พบปัญหาในกระบวนการนี้ เนื่องจากขั้นตอนการผลิตตำราเรียนหรือผลงานวิชาการจะมีกฎ ระเบียบที่ชัดเจน โดยอาจารย์สามารถจัดทำรูปเล่มจากร้านค้าหรือโรงพิมพ์ โดยต้องมีการแก้ไขให้เหมาะสมตาม ที่ผู้เขียนต้องการ ด้านการกระจายสินค้า สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้พิจารณาว่าตลาดในการกระจายสินค้ายังแคบเกินไป ทำให้ยอดขายสินค้าค่อนข้างคงที่ เนื่องจากยังไม่สามารถเปิดตลาดใหม่ ๆ ได้ ด้วยข้อจำกัดในการทำงาน ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบองค์กรที่เป็นหน่วยงานหนึ่งของมหาวิทยาลัย ทำให้ด้านการบริหารงานยังไม่ได้ทำงานเชิงธุรกิจมากนัก โดยส่วนใหญ่แล้วจะดำเนินการเพื่อเผยแพร่ผลงานอาจารย์มากกว่าแสวงหากำไรen_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)174.71 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract 226.82 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS3.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.