Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39742
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ดุรยา สุขถมยา | - |
dc.contributor.author | นฤมล พรหมจักร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-12-09T09:23:30Z | - |
dc.date.available | 2016-12-09T09:23:30Z | - |
dc.date.issued | 2557-12 | - |
dc.identifier.uri | http://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39742 | - |
dc.description.abstract | This independent study aimed to study and compare factor affecting efficiency of using accounting information systems for enterprise resource planning of companies in Northern Region Industrial Estate, Lamphun Province. In order to collect data, questionnaires were distributed to 200 employees of companies in the Northern Region Industrial Estate, Lamphun province, who used accounting information systems for enterprise resource planning; but the complete data were from 186 of them. Data processing and analysis were conducted by the descriptive statistics, consisting of frequency, percentage and mean. The findings presented that most respondents were female, graduated in Bachelor’s degree, and had been working in the current professional field and in their current organization for 1-10 years. The majority worked in Accounting Division in the position of officer at the electronic components production and assembly business. Most of them used the accounting information system for enterprise resource planning, especially Microsoft Dynamics AX program, and satisfied with its operation at high level. The results of the study on the use of accounting system for enterprise resource planning showed that most respondents were interested in this system and involved in raising suggestions or reporting incurred troubles, as well as communicating, according to organizational structure, with people involved. The results suggested that administrators of their organizations realized on advantages of this accounting system for enterprise resource planning. In addition, the respondents needed this system to present outputs in comparative format; but it had the problem on restricted budget for system development. The respondents ranked their opinions towards factors affecting efficiency of using accounting information systems for enterprise resource planning as follows. The highest level of opinion was given to the quality of information system factor, especially for its function that presented outputs in comparative format. Then, the support of executive administrator factor, especially for the support of administrators to arrange training workshops, and the problem factor, especially for the rapid solution as offered by the accounting information system service provider who installed the system were followed. The results of the analysis as classified by general information of the respondents suggested that genders, age range, range of professional working experience, range of working experience in the current organization, frequencies in using the system and satisfactions on the accounting information system for enterprise resource planning caused the different levels of opinions. Nevertheless, those who had similar ranges of professional working experience and working experience in the current organization averagely had the similar level of opinions. Furthermore, the results of comparative study between the use of accounting information system for enterprise resource planning and the opinions of respondents towards factors affecting efficiency of using it were presented hereafter. In user specification factor, it presented that the users were interested in the accounting information system for enterprise resource planning and (additionally) agreed that the system would bring the greatest benefits to those who were proficient in using it. Thus, for the better efficiency, the users should gain their proficiency in using the system by studying and practicing. In support of executive administrator factor, it presented that in addition to the understanding of business administrators towards benefits of the accounting information system for enterprise resource planning, the administrators should promote the arrangement of training workshops for the users for the highest efficiency. Thus, the support from administrators was considered as the significant factor to gain knowledge of the users towards using the accounting information system for enterprise resource planning for the better efficiency. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ระบบสารสนเทศ | en_US |
dc.subject | การบัญชี | en_US |
dc.subject | นิคมอุตสาหกรรม | en_US |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการใช้ระบบสารสนเทศทางการบัญชีเพื่อการวางแผนทรัพยากรของบริษัทในนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ จังหวัดลำพูน | en_US |
dc.title.alternative | Factor affecting efficiency of using accounting information systems for enterprise resource planning of companies in Northern region industrial estate, Lamphun Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.ddc | 657.0285 | - |
thailis.controlvocab.thash | การบัญชี -- การประมวลผลข้อมูล | - |
thailis.controlvocab.thash | ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ -- การบัญชี | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว/ภน 657.0285 น916ป | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการใช้ระบบสารสนเทศทางการบัญชีเพื่อการวางแผนทรัพยากร ของบริษัทในนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ จังหวัดลำพูน โดยมีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามจากกลุ่มพนักงานของบริษัทในนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ ที่มีการใช้งานระบบสารสนเทศทางการบัญชี เพื่อการวางแผนทรัพยากร จำนวน 200 ราย ซึ่งสามารถเก็บรวบรวมข้อมูลได้ 186 ราย ประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี มีประสบการณ์ทำงานในสาขาวิชาชีพปัจจุบัน 1-10 ปี มีประสบการณ์ทำงาน ในองค์กรปัจจุบัน 1-10 ปี ส่วนใหญ่ทำงานในแผนกบัญชีในตำแหน่งเจ้าหน้าที่ และทำงานในธุรกิจผลิต/ประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ส่วนใหญ่มีการใช้งานซอฟต์แวร์ระบบสารสนเทศทางการบัญชีเพื่อการวางแผนทรัพยากร โดยเฉพาะโปรแกรมไมโครซอฟท์ ไดนามิกส์ เอเอ็กซ์ และมีความพึงพอใจดังกล่าว ที่ใช้งานในระดับมาก ในด้านการใช้งานระบบสารสนเทศทางการบัญชีเพื่อการวางแผนทรัพยากรของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่าส่วนใหญ่มีความสนใจในระบบสารสนเทศทางการบัญชีเพื่อการวางแผนทรัพยากร และมีส่วนร่วมในการเสนอแนะหรือแจ้งปัญหารวมถึงมีการติดต่อสื่อสารตามโครงสร้างองค์กร ซึ่งผู้บริหารมีความเข้าใจประโยชน์ของระบบสารสนเทศทางการบัญชีเพื่อการวางแผนทรัพยากรนอกจากนี้ยังมีความต้องการให้ระบบ สารสนเทศทางการบัญชีเพื่อการวางแผนทรัพยากร สามารถแสดงรูปแบบที่สามารถเปรียบเทียบกันได้ แต่ยังคงพบปัญหาในเรื่องการจำกัดงบประมาณเพื่อพัฒนาระบบ ผู้ตอบแบบสอบถามมีความเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการใช้ระบบ สารสนเทศทางการบัญชีเพื่อการวางแผนทรัพยากร มากที่สุด คือ ปัจจัยด้านคุณภาพของระบบสารสนเทศ ในเรื่องการที่ระบบสารสนเทศทางการบัญชีเพื่อการวางแผนทรัพยากรสามารถแสดงรูปแบบที่สามารถเปรียบเทียบกันได้ รองลงมาปัจจัยด้านการให้การสนับสนุนของผู้บริหารระดับสูง ในเรื่องการที่ผู้บริหารมีการส่งเสริมให้มีการจัดฝึกอบรม และปัจจัยด้านลักษณะของปัญหา ในเรื่องการที่ผู้ติดตั้งระบบสารสนเทศทางการบัญชีเพื่อการวางแผนทรัพยากร แก้ไขปัญหาได้อย่างรวดเร็ว เมื่อทำการวิเคราะห์โดยการจำแนกตามข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่าเพศ อายุ ประสบการณ์ทำงานในวิชาชีพ ประสบการณ์ทำงานในองค์กรปัจจุบัน ความถี่ในการใช้งาน และความพึงพอใจในระบบสารสนเทศทางการบัญชีเพื่อการวางแผนทรัพยากรของผู้ตอบแบบสอบถามมีผลต่อการแสดงความเห็นที่แตกต่างกันของผู้ตอบแบบสอบถาม แต่พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามที่มีประสบการณ์ทำงานในวิชาชีพและมีประสบการณ์ทำงานในองค์กรปัจจุบันในช่วงเวลาที่เท่ากัน มีการแสดงความเห็นต่อปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการใช้ระบบสารสนเทศทางการบัญชีเพื่อการวางแผนทรัพยากร ในระดับคะแนนโดยเฉลี่ยที่ใกล้เคียงกันตามระดับคะแนนความเห็น นอกจากนี้เมื่อนำผลการศึกษาเกี่ยวกับการใช้ระบบระบบสารสนเทศทางการบัญชีเพื่อการวางแผนทรัพยากร มาเปรียบเทียบกับ ความเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการใช้ระบบสารสนเทศทางการบัญชีเพื่อการวางแผนทรัพยากร ด้านคุณลักษณะเฉพาะของผู้ใช้งานนั้น พบว่าผู้ใช้งานมีความสนใจในระบบสารสนเทศทางการบัญชีเพื่อการวางแผนทรัพยากร และมีความเห็น(เพิ่มเติม)ว่าหากมีความเชี่ยวชาญในการใช้งานด้วยถึงจะก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการใช้งาน ดังนั้นหากผู้ใช้งานมีการศึกษาและฝึกฝนการใช้งานให้เกิดความเชี่ยวชาญก็ย่อมส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงานต่อไป และในด้านการสนับสนุนของผู้บริหารระดับสูงนั้น พบว่า นอกจากผู้บริหารในกิจการจะมีความเข้าใจในประโยชน์ของระบบสารสนเทศทางการบัญชีเพื่อการวางแผนทรัพยากรแล้ว ยังคงต้องมีการส่งเสริมให้มีการจัดฝึกอบรมด้วยถึงจะก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการใช้งาน ดังนั้นการสนับสนุนจากผู้บริหารถือได้ว่าเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาความรู้เพื่อก่อให้เกิดการใช้งานระบบสารสนเทศทางการบัญชีเพื่อการวางแผนทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | BA: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.docx | Abstract (words) | 180.88 kB | Microsoft Word XML | View/Open |
ABSTRACT.pdf | Abstract | 141.17 kB | Adobe PDF | View/Open |
FULL.pdf | Full IS | 2.77 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.