Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39646
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.ศรัญญา กันตะบุตร-
dc.contributor.authorคณากร ไชยอุดรรุ่งเจริญen_US
dc.date.accessioned2016-11-08T09:15:20Z-
dc.date.available2016-11-08T09:15:20Z-
dc.date.issued2015-08-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39646-
dc.description.abstractThe purpose of this study was to investigate satisfaction level of the motivational factor of the supporting staff in University of Phayao. The population consisted of 245 staffs in University of Phayao. The instrument used to collect data was the questionnaire and the data were descriptive statistically analyzed with the frequency distribution, percentage, mean and Inferential Statistics such as Analysis of Variance by department and Testing the Difference Two Means by time at work. The research results shown that the staffs in University of Phayao are female with 26-35 years old, single status, graduated bachelor degree, less than 5 years of experience worked, working in administration had the high satisfaction level of motivational factor only in responsibility factor. Medium satisfaction level factors were achievement factor, recognition factor, advancement factor, work itself factor and growth factor. Moreover the satisfaction level of hygiene Factors results shown that the high satisfaction level factor was only interpersonal relations factor. Medium satisfaction level factors were salary factor, job Security factor, status factor, working conditions factor, policy factor and supervision factor. By comparing the difference of the average level of motivation factor. Which show no different in the department but in the working time. The difference of the average level of hygiene factor show the different in both the department and working time.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานมหาวิทยาลัยสายบริการ มหาวิทยาลัยพะเยาen_US
dc.title.alternativeMotivation to Work of Supporting Staff at University of Phayaoen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานมหาวิทยาลัยสายบริการ มหาวิทยาลัยพะเยา โดยการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างของพนักงานมหาวิทยาลัยสายบริการ มหาวิทยาลัยพะเยา จำนวน 245 ราย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และสถิติอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์ความแปรปรวน จำแนกตามส่วนงาน และการทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยสองกลุ่ม จำแนกตามระยะเวลาที่ปฏิบัติงาน ผลการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 26 – 35 ปี มีสถานะโสด มีการศึกษาในระดับปริญญาตรี มีระยะเวลาที่ปฏิบัติงานไม่เกิน 5 ปี ปฏิบัติงานอยู่ใน กองงาน มีความพึงพอใจในระดับมาก ต่อปัจจัยจูงใจด้านความรับผิดชอบ และมีความพึงพอใจในระดับปานกลางต่อปัจจัยจูงใจด้านความสำเร็จของงาน ด้านการได้รับการยอมรับ ด้านความก้าวหน้า ด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติ และด้านการเติบโต นอกจากนี้มีความพึงพอใจต่อปัจจัยค้ำจุนในระดับมาก ได้แก่ ปัจจัยด้านความสัมพันธ์ของหัวหน้าและเพื่อนร่วมงาน มีความพึงพอใจต่อปัจจัยค้ำจุนในระดับปานกลาง ได้แก่ ปัจจัยด้านรายได้ และสวัสดิการ ปัจจัยด้านความมั่นคงในการทำงาน ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมการทำงาน ปัจจัยด้านตำแหน่งงาน ปัจจัยด้านนโยบายการบริหาร และปัจจัยด้านการปกครองบังคับบัญชา เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระดับความสำคัญของปัจจัยจูงใจ พบว่าไม่แตกต่างกันตามส่วนงาน แต่แตกต่างกันตามระยะเวลาที่ปฏิบัติงาน ส่วนค่าเฉลี่ยระดับความสำคัญของปัจจัย ค้ำจุน แตกต่างกันตามส่วนงาน และระยะเวลาที่ปฏิบัติงานen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)181.82 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract257 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS2.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.