Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39613
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผศ.ดร. เยาวเรศ เชาวนพูนผล-
dc.contributor.advisorรศ.ดร. ธเนศ ศรีวิชัยลำพันธ์-
dc.contributor.authorธีระยุทธ อำภาen_US
dc.date.accessioned2016-10-04T09:37:27Z-
dc.date.available2016-10-04T09:37:27Z-
dc.date.issued2014-10-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39613-
dc.description.abstractThe study entitiled, “Factors influencing non-agricultural credit using of Bank for Agriculture and Agricultural Co-Operatives of Lamphun” has the objective to study characteristics of non-agricultural credit using, factors influencing non-agricultural credit using and customer‘s satisfaction towards non-agricultural credit using of Bank for Agriculture and Agricultural Co-Operatives of Lamphun. The result of the study showed that most of the questionnaires respondents were male with 3-4 family numbers, 2 family labors and primary school education level. Most of them were private practice with 6-10 years being customers of Bank for Agriculture and Agricultural Co-Operatives. In term of economic characteristics, average family income of most respondents was not over 100,000 baht, average agricultural income was not over 50,000, average family debt was not over 100,000 baht, average consumption expense was 1-50,000 baht and had 6-10 years experience doing agriculture. In term of agricultural characteristics, most respondents had their own land and average agricultural expense was 1-50,000 baht. In term of transaction with Bank for Agriculture and Agricultural Co-Operatives, most respondents had loan credit 50,001-100,000 baht, loan for expense 50,001-100,000 baht and loan interest rate 7.00 % per year. They had ability to repay debt on schedule and had loan collateral from all choices. They contacted with Bank for Agriculture and Agricultural Co-Operatives 1-2 times per year, never loan money from the other sources and wanted to loan more money from Bank for Agriculture and Agricultural Co-Operatives. Regarding customer‘s satisfaction towards non-agricultural credit using of Bank for Agriculture and Agricultural Co-Operatives of Lamphun. In term of the credit service quality, most respondents satisfied with correctness and accuracy of documents, justice and equality for customer, service area and the instruction about non-agricultural occupation. In term of customer loans, most respondents satisfied with using land to mortgage and construction to guarantee, outstanding debt could use for guarantee another person‘s loan but could not use for their loan and had the highest satisfaction for using personal guarantee that not over 150,000 baht. In term of operation after customer loans, most respondents had the highest satisfaction for using loans from 70 % of the correct loans project, bringing loan out periodically must be checked, reminding of debt repayment individually, postponement of debt repayment was not more than 5 times and most of respondents wanted to use non-agricultural credit of Bank for Agriculture and Agricultural Co-Operatives of Lamphun. Ability to repay found that differences in income and household contact with employees. Factors that affect customer demand for non-agricultural use of credit by Bank for Agriculture and Agricultural Co-peratives Lamphun using Logit model indicated that the factors that affect customer demand for credit in the agricultural sector, the Bank for Agriculture and Agricultural Co-peratives. Lamphun include officers / employees of private companies. Experience in the profession and the cost of agriculture.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้สินเชื่อนอกภาคการเกษตรของลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จังหวัดลำพูนen_US
dc.title.alternativeFactors Influencing Customers of Bank for Agriculture and Agricultural Co-operatives in Lamphun Province on Non-agricultural Credit Usingen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้สินเชื่อนอกภาคการเกษตรของลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จังหวัดลำพูนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการใช้สินเชื่อนอกภาคเกษตร ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความต้องการใช้สินเชื่อนอกภาคการเกษตรตลอดจนความพึงพอใจของลูกค้าที่มีต่อการใช้บริการสินเชื่อนอกภาคการเกษตรของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรจังหวัดลำพูน ผลการศึกษาพบว่าลูกค้าส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีจำนวนสมาชิกในครัวเรือน 3-4 คน จำนวนแรงงานในครัวเรือน 2 คน การศึกษาอยู่ในระดับประถมศึกษา ประกอบอาชีพทำธุรกิจส่วนตัว และเป็นลูกค้าธนาคารมาเป็นเวลา 6-10 ปี ลักษณะทางเศรษฐกิจ ส่วนใหญ่มีรายได้ครัวเรือนรวมไม่เกิน 100,000 บาท โดยมีรายได้จากการเกษตรรวมไม่เกิน 50,000 บาท หนี้สินในครัวเรือนไม่เกิน 100,000 บาท ค่าใช้จ่ายในการบริโภค 1-50,000 บาท และมีประสบการณ์ในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม 6-10 ปี ลักษณะการทำการเกษตร ส่วนใหญ่มีการถือครองที่ดินซึ่งเป็นที่ดินของตนเองและมีค่าใช้จ่ายในการเกษตรรวม ไม่เกิน50,000 บาท การทำธุรกรรมกับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรส่วนใหญ่มีจำนวนสินเชื่อที่กู้จากธนาคาร 50,001-100,000 บาท มีจำนวนเงินกู้เพื่อเป็นค่าใช้จ่าย 50,001-100,000 บาท ได้รับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ร้อยละ 7.00 ต่อปี มีความสามารถในการชำระหนี้ได้ตามกำหนดชำระ มีหลักประกันเงินกู้จากการทำหนังสือรับรองรับผิดอย่างลูกหนี้ร่วมกัน การใช้บุคคลค้ำประกัน และการใช้ที่ดินจำนองทุกข้อรวมกัน มีการติดต่อกับพนักงานเป็นจำนวน 1-2 ครั้งต่อปี ไม่ได้กู้เงินจากแหล่งอื่นเลย และคิดที่จะกู้ยืมเงินจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ผลการศึกษาความพึงพอใจของเกษตรกรตัวอย่างที่มีต่อการใช้บริการสินเชื่อนอกภาคการเกษตรของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรจังหวัดลำพูน จำแนกตามคุณภาพการให้บริการสินเชื่อ พบว่าเกษตรกรมีความพึงพอใจในความถูกต้องการจัดทำเอกสารและความยุติธรรมและเท่าเทียม ขนาดพื้นที่ในอาคารที่ให้บริการ การให้คำแนะนำความรู้เกี่ยวกับอาชีพนอกภาคการเกษตร จำแนกตามการให้เกษตรกรลูกค้ากู้เงินส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในการใช้ที่ดินจำนองพร้อมสิ่งปลูกสร้างค้ำประกัน และหนี้ค้างชำระสามารถค้ำประกันบุคคลอื่นได้ แต่เปิดวงเงินกู้ให้ตนเองไม่ได้และพึงพอใจสูงสุดในการใช้บุคคลค้ำประกันเงินกู้ได้ไม่เกิน 150,000 บาท จำแนกตามการดำเนินงานหลังการให้เกษตรกรลูกค้ากู้เงิน ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจสูงสุดในการใช้เงินกู้ตั้งแต่ร้อยละ 70 ของโครงการใช้เงินกู้ถูกต้อง และการเบิกเงินกู้เป็นรายงวดต้องมีการตรวจสอบการเตือนเรื่องการชำระหนี้เป็นรายบุคคล และการผัดผ่อนชำระหนี้ได้ไม่เกิน 5 ครั้งและส่วนใหญ่ต้องการใช้สินเชื่อนอกภาคการเกษตรของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรจังหวัดลำพูน ความสามารถในการชำระหนี้พบว่าลักษณะความแตกต่างทางด้านรายได้ครัวเรือนรวมและการติดต่อกับพนักงาน ธ.ก.ส. มีความสัมพันธ์ต่อความสามารถในการชำระหนี้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการของลูกค้าในการใช้สินเชื่อนอกภาคการเกษตรของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จังหวัดลำพูนโดยใช้แบบจำลองโลจิท (logit model) พบว่าปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการของลูกค้าในการใช้สินเชื่อนอกภาคการเกษตรของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จังหวัดลำพูนประกอบด้วย อายุ อาชีพนอกภาคการเกษตร สัดส่วนระหว่างรายได้นอกภาคการเกษตรต่อรายได้รวม ภาระหนี้สินในครัวเรือนen_US
Appears in Collections:AGRI: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)56.15 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract260.28 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS3.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.