Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/37861
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลดาวัลย์ ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorคุณากร จักรวาฬen_US
dc.date.accessioned2015-03-16T10:15:07Z-
dc.date.available2015-03-16T10:15:07Z-
dc.date.issued2014-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/handle/6653943832/37861-
dc.description.abstractการศึกษาเรื่อง ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานของศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กองบิน 41 การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาเพื่อ (1) เพื่อศึกษาถึงปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานของ ศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กองบิน 41 (2) ศึกษาประเภทของการฝึกอบรมที่เจ้าหน้าที่ของศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กองบิน 41 จำเป็นต้องได้รับเพื่อพัฒนาทักษะ ความรู้ ความชำนาญ ในการปฏิบัติภารกิจ (3) วิเคราะห์หาแนวทางปรับปรุงแก้ไขการดำเนินงานของ ศูนย์บรรเทา สาธารณภัย กองบิน 41 เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ ในการจัดตั้งศูนย์ และตอบสนองความต้องการของหน่วยงานภายนอกได้ และได้จัดเก็บรวบรวมข้อมูลจากประชากร 2 กลุ่ม ประกอบด้วยการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล จากการใช้แบบสอบถาม เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานทั้งหมดของศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กองบิน 41 เป็นจำนวนทั้งสิ้น 149 คน และแบบสัมภาษณ์ ผู้บังคับบัญชา จำนวน 4 คน รวมประชากรที่ใช้ในการศึกษาทั้งหมด 153 คน ผลการศึกษา สรุปได้ดังนี้ (1) ปัญหาและอุปสรรค ในการดำเนินงานของศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กองบิน 41 มีอยู่ในระดับปานกลาง ประกอบด้วย ปัญหาด้านสมรรถนะ ปัจจัยด้านงบประมาณ ปัจจัย ด้านอุปกรณ์ ปัจจัยด้านเครื่องมือเครื่องใช้ ปัญหาด้านการควบคุม ปัญหาด้านความร่วมมือ ปัญหาด้านอำนาจและความสัมพันธ์ ทั้งหมดมีปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง (2) เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานประจำศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กองบิน 41 มีความจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาทักษะ ความรู้ความชำนาญในการปฏิบัติภารกิจเกี่ยวกับการบรรเทาสาธารณภัย โดยระดับขั้นของการฝึกอบรมที่มีความจำเป็นต้องจัดขึ้นเพื่อพัฒนา ทักษะ ความรู้ความชำนาญ ที่เจ้าหน้าที่จำเป็นต้องได้รับลำดับแรก คือ การฝึกอบรมระดับผู้ปฏิบัติการ รองลงมาคือ การฝึกอบรมระดับหัวหน้างานและระดับหัวหน้าฝ่าย และความจำเป็นอันดับสุดท้ายคือ การฝึกอบรมระดับผู้บริหาร ผู้บังคับบัญชา (3) แนวทางการปรับปรุงแก้ไข พบว่าควรมีการปรับปรุงแก้ไขด้านจำนวนและทักษะฝีมือ ความชำนาญของเจ้าหน้าที่ โดยจัดอบรมเชิงปฏิบัติการอย่างจริงจัง ทั้งด้านงบประมาณและอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ ควรจัดหาให้เพียงพอ มีความทันสมัยมากขึ้น ด้านการควบคุมและความร่วมมือ ผู้บังคับบัญชา ควรให้ความสำคัญกับงานและมอบอำนาจการตัดสินใจให้แก่ผู้ปฏิบัติมากขึ้น รวมทั้งควรมีการวางแผนการทำงานแบบบูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งหมดen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานของศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กองบิน 41en_US
dc.title.alternativeProblems and obstacles of Wing 41 Disaster Relief Center Operationsen_US
thailis.classification.ddc363.348-
thailis.controlvocab.thashการบรรเทาสาธารณภัย--เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashภัยพิบัติ -- การป้องกันและควบคุม-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 363.348 ค442ป-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่อง ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานของศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กองบิน 41 การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาเพื่อ (1) เพื่อศึกษาถึงปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานของ ศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กองบิน 41 (2) ศึกษาประเภทของการฝึกอบรมที่เจ้าหน้าที่ของศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กองบิน 41 จำเป็นต้องได้รับเพื่อพัฒนาทักษะ ความรู้ ความชำนาญ ในการปฏิบัติภารกิจ (3) วิเคราะห์หาแนวทางปรับปรุงแก้ไขการดำเนินงานของ ศูนย์บรรเทา สาธารณภัย กองบิน 41 เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ ในการจัดตั้งศูนย์ และตอบสนองความต้องการของหน่วยงานภายนอกได้ และได้จัดเก็บรวบรวมข้อมูลจากประชากร 2 กลุ่ม ประกอบด้วยการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล จากการใช้แบบสอบถาม เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานทั้งหมดของศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กองบิน 41 เป็นจำนวนทั้งสิ้น 149 คน และแบบสัมภาษณ์ ผู้บังคับบัญชา จำนวน 4 คน รวมประชากรที่ใช้ในการศึกษาทั้งหมด 153 คน ผลการศึกษา สรุปได้ดังนี้ (1) ปัญหาและอุปสรรค ในการดำเนินงานของศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กองบิน 41 มีอยู่ในระดับปานกลาง ประกอบด้วย ปัญหาด้านสมรรถนะ ปัจจัยด้านงบประมาณ ปัจจัย ด้านอุปกรณ์ ปัจจัยด้านเครื่องมือเครื่องใช้ ปัญหาด้านการควบคุม ปัญหาด้านความร่วมมือ ปัญหาด้านอำนาจและความสัมพันธ์ ทั้งหมดมีปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง (2) เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานประจำศูนย์บรรเทาสาธารณภัย กองบิน 41 มีความจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาทักษะ ความรู้ความชำนาญในการปฏิบัติภารกิจเกี่ยวกับการบรรเทาสาธารณภัย โดยระดับขั้นของการฝึกอบรมที่มีความจำเป็นต้องจัดขึ้นเพื่อพัฒนา ทักษะ ความรู้ความชำนาญ ที่เจ้าหน้าที่จำเป็นต้องได้รับลำดับแรก คือ การฝึกอบรมระดับผู้ปฏิบัติการ รองลงมาคือ การฝึกอบรมระดับหัวหน้างานและระดับหัวหน้าฝ่าย และความจำเป็นอันดับสุดท้ายคือ การฝึกอบรมระดับผู้บริหาร ผู้บังคับบัญชา (3) แนวทางการปรับปรุงแก้ไข พบว่าควรมีการปรับปรุงแก้ไขด้านจำนวนและทักษะฝีมือ ความชำนาญของเจ้าหน้าที่ โดยจัดอบรมเชิงปฏิบัติการอย่างจริงจัง ทั้งด้านงบประมาณและอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ ควรจัดหาให้เพียงพอ มีความทันสมัยมากขึ้น ด้านการควบคุมและความร่วมมือ ผู้บังคับบัญชา ควรให้ความสำคัญกับงานและมอบอำนาจการตัดสินใจให้แก่ผู้ปฏิบัติมากขึ้น รวมทั้งควรมีการวางแผนการทำงานแบบบูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งหมดen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT385.72 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX524.31 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1402.25 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2543.72 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3369.73 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4778.52 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5624.18 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT252.63 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER570.79 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE181.52 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.