Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80210
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมพล คงจิตต์-
dc.contributor.authorสิราภรณ์ ชวนประเสริฐen_US
dc.date.accessioned2024-11-20T01:12:40Z-
dc.date.available2024-11-20T01:12:40Z-
dc.date.issued2024-10-25-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80210-
dc.description.abstractThis research aims to (1) identify issues and factors affecting the inability to meet fee and service income targets at a branch of the Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives (BAAC) located in Chom Thong District, Chiang Mai Province; (2) design essential knowledge for enhancing work quality in boosting fee and service income at the BAAC branch in Chom Thong District, Chiang Mai Province; and (3) monitor and assess staff learning regarding increasing fee and service income. This study examines the challenges in increasing fee and service income at the BAAC branch in Chom Thong District by analyzing performance data from the past three years. It employs activities based on the Community of Practice (CoPs) approach and Knowledge Engineering processes, using qualitative data from interviews with managers and experts, knowledge exchange in CoPs activities, and After Action Review (AAR) sessions, alongside monthly progress tracking and performance evaluation. The findings reveal key issues affecting income, including inadequate communication, adherence to traditional work methods, insufficient use of technology, limited staff knowledge, and low motivation. Implementing CoPs activities with two teams (Lightning Team and Storm Team) showed that the Lightning Team, which focused on proactive work and applied marketing strategies (4Ps, 4Cs, and 4Es), outperformed the Storm Team. These results highlight the importance of developing knowledge management strategies to improve the bank’s operational efficiency in the future.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดการความรู้การเพิ่มรายได้ค่าธรรมเนียมและค่าบริการของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรen_US
dc.title.alternativeKnowledge management for increasing fee based income of the Bank for Agriculture and Agricultural Cooperativesen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.thashธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร-
thailis.controlvocab.thashธนาคาร -- ค่าธรรมเนียม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อบ่งชี้ประเด็นปัญหาและปัจจัยที่ส่งผลต่อรายได้ค่าธรรมเนียม และการบริการไม่เป็นไปตามเป้าหมายของธนาคารเพื่อการเกษตรและการเกษตร สาขาหนึ่งในเขตอำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ (2) เพื่อออกแบบความรู้สำคัญในการเพิ่มคุณภาพการทำงานด้านการเพิ่มรายได้ค่าบริการและค่าธรรมเนียม ของ ธ.ก.ส. สาขาหนึ่งในเขตอำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ (3) เพื่อติดตามและประเมินผลการเรียนรู้บุคลากรเรื่องการเพิ่มรายได้ค่าธรรมเนียมและค่าบริการ การวิจัยนี้ดำเนินการโดยการศึกษาปัญหาการเพิ่มรายได้ค่าธรรมเนียมและค่าบริการของ ธ.ก.ส. สาขาหนึ่งในเขตอำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ โดยการวิเคราะห์ข้อมูลผลการดำเนินงานย้อนหลัง 3 ปี และการดำเนินกิจกรรมชุมชนนักปฏิบัติ (CoPs) ร่วมกับกระบวนการวิศวกรรมความรู้ (Knowledge Engineering) โดยการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารและผู้เชี่ยวชาญ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกิจกรรม CoPs และการจัดกิจกรรมทบทวนการปฏิบัติงาน (AAR) พร้อมติดตามประเมินผลการดำเนินงานในแต่ละเดือน ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อรายได้ ได้แก่ การสื่อสารที่ไม่ทั่วถึง การยึดติดกับรูปแบบการทำงานเดิม มีการนำเทคโนโลยีมาใช้ไม่เพียงพอ และพนักงานมีความรู้ไม่เพียงพอและแรงจูงใจ การนำกิจกรรม CoPs มาใช้โดยแบ่งเป็น 2 ทีม (ทีมสายฟ้าและทีมพายุ) พบว่า ทีมสายฟ้าที่เน้นการทำงานเชิงรุกและใช้กลยุทธ์ทางการตลาด (4Ps, 4C, 4E) มีผลการดำเนินงานที่ดีกว่าทีมพายุ ทั้งนี้ ผลการวิจัยชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของการพัฒนากลยุทธ์การจัดการความรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานของธนาคารในอนาคตen_US
Appears in Collections:CAMT: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
632132006 - สิราภรณ์ ชวนประเสริฐ.pdf2.07 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.