Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80160
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพนิดา จันทโสภีพันธ์-
dc.contributor.advisorโรจนี จินตนาวัฒน์-
dc.contributor.authorศิริมา พนาดรen_US
dc.date.accessioned2024-11-15T10:29:47Z-
dc.date.available2024-11-15T10:29:47Z-
dc.date.issued2024-08-16-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80160-
dc.description.abstractCOVID-19 is an emerging disease that has an impact on the health of the population and public health systems. An important measure to prevent COVID-19 infection and to reduce disease severity and mortality rates in older adults, who are at the highest risk for infection and death, is vaccination against COVID-19. This predictive correlational research, grounded in the Health Belief Model, aimed to 1) describe the intention to receive the COVID-19 vaccine and 2) identify factors influencing vaccination intentions among unvaccinated older adults. Independent variables included perceived susceptibility to COVID-19, perceived seriousness of COVID-19, perceived benefits of COVID-19 vaccines, perceived barriers to COVID-19 vaccination, and fear of COVID-19. Participants were 100 unvaccinated older adults living in Thung Khao Luang District, Roi Et Province, who were recruited using convenience and snowball sampling approaches between November 2023 and February 2024. Data were analyzed using logistic regression analysis. Results demonstrated that: 1. The mean intention to receive the COVID-19 vaccine among unvaccinated older adults in this study was 2.71 (SD = 2.12), with a range from 0 to 10. 2. Perceived susceptibility to COVID-19, perceived seriousness of the disease, perceived benefits of vaccination, perceived barriers to getting vaccinated, and fear of COVID-19 collectively explained 19% of the variance in the intention to receive the COVID-19 vaccine (Nagelkerke's R² = 0.19). This prediction was statistically significant, χ² (1, N = 100) = 15.00, p < 0.01 and variable with the highest predictive power Perceived benefits of COVID-19 vaccines significantly predicted the intention to receive the COVID-19 vaccine. An increase in perceived benefits was significantly associated with a higher likelihood of COVID-19 vaccination intention among older adults (OR = 1.54, 95% CI = 1.14-2.08). Findings from this study offer valuable insights for nurses, medical personnel, and public health policymakers in developing services and strategies aimed at encouraging unvaccinated older adults to receive the COVID-19 vaccine. This approach is crucial for reducing infection rates and mortality among the elderly population.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจในการฉีดวัคซีนโควิด-19 ของผู้สูงอายุที่ยังไม่เคยฉีดวัคซีนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeFactors influencing COVID-19 vaccination intention of unvaccinated older adults in Northeastern Region of Thailanden_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashวัคซีนโควิด-19-
thailis.controlvocab.thashโควิด-19 (โรค)-
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ -- ทุ่งเขาหลวง (ร้อยเอ็ด)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractโรคโควิด-19 เป็นโรคอุบัติใหม่ที่ส่งผลผลกระทบต่อสุขภาพของประชากรและระบบสาธารณสุขทั่วโลก มาตรการที่สำคัญในการป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ลดความรุนแรง และลดอัตราตายจากโรค ในกลุ่มผู้สูงอายุซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงในการติดเชื้อและเสียชีวิตมากกว่ากลุ่มวัยอื่น คือ วัคซีนโควิด-19 การวิจัยแบบหาความสัมพันธ์เชิงทำนายครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาความตั้งใจในการฉีดวัคซีนโควิด-19 และ 2) ศึกษาปัจจัยทำนายความตั้งใจในการฉีดวัคซีนโควิด-19 ในผู้สูงอายุที่ยังไม่เคยฉีดวัคซีนโควิด-19 ปัจจัยที่ศึกษา ได้แก่ การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเป็นโรคโควิด-19 การรับรู้ความรุนแรงของโรคโควิด-19 การรับรู้ประโยชน์ของวัคซีนโควิด-19 การรับรู้อุปสรรคของการได้รับวัคซีนโควิด-19 และความกลัวโรคโควิด-19โดยใช้กรอบแนวคิดแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model) กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้สูงอายุที่ยังไม่เคยได้รับการฉีดวัคซีนโควิด-19 ในอำเภอ ทุ่งเขาหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 100 ราย ผู้วิจัยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบตามความสะดวกและ การบอกต่อของผู้เข้าร่วมวิจัยแบบสโนว์บอลล์ เก็บข้อมูลระหว่างเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2566 ถึง เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567 และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ความถดถอยโลจิสติค (logistic regression analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้สูงอายุในการศึกษาครั้งนี้ มีคะแนนความตั้งใจในการเข้ารับการฉีดวัคซีนโควิด-19 คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 2.71 (S.D.= 2.12) โดยมีคะแนนต่ำสุด 0 คะแนน และคะแนนสูงสุด 10 คะแนน 2. การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเป็นโรคโควิด-19 การรับรู้ความรุนแรงของโรคโควิด-19 การรับรู้ประโยชน์ของวัคซีนโควิด-19 การรับรู้อุปสรรคของการได้รับวัคซีนโควิด-19 และความกลัวโรคโควิด-19 สามารถร่วมกันทำนายความตั้งใจในการฉีดวัคซีนโควิด-19 ได้ร้อยละ 19.00 (Nagelkerke’s R2 = 0.19) อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ χ2 (1, N = 100) = 15.00 (p < 0.01) โดยตัวแปร ที่มีอำนาจการทำนายสูงสุด คือ ผู้สูงอายุที่มีการรับรู้ประโยชน์ของวัคซีนโควิด-19 ที่เพิ่มขึ้น มีโอกาสมีความตั้งใจในการฉีดวัคซีนโควิด-19 สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (OR = 1.54, 95% CI = 1.14-2.08) ผลการศึกษาครั้งนี้ ทำให้ พยาบาล บุคลากรทางด้านสุขภาพ และผู้ออกแบบนโยบายสาธารณสุข ได้แนวทางในการพัฒนาโปรแกรม การออกแบบการให้บริการสุขภาพ แนวทาง และนโยบายต่าง ๆ ในการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุที่ยังไม่เคยรับการฉีดวัคซีนหรือยังได้รับวัคซีนไม่ครบ เข้ารับบริการฉีดวัคซีนโควิด-19 เพื่อลดอัตราการติดเชื้อและการเสียชีวิตในผู้สูงอายุen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631231198-ศิริมา พนาดร-watermark.pdf4.46 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.