Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80150
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นภาพร รีวีระกุล | - |
dc.contributor.author | มัทธกานต์ ปาลี | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-11-12T11:19:54Z | - |
dc.date.available | 2024-11-12T11:19:54Z | - |
dc.date.issued | 2024-08 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80150 | - |
dc.description.abstract | This study aims to explore the information that supports the export of Thai fruits to China throughout the entire supply chain and to use this information as a guideline for developing cross-border trade of Thai fruits. This qualitative research was conducted by planning the study, followed by collecting interview data from 20 participants involved in the supply chain of Thai fruit exports to China. The participants included 10 fruit orchard farmers, 4 middlemen/packing house, 4 transport operators/agents, and 2 fruit importers from Thailand. The interview results were then analyzed using the SCOR Model and the Value Chain concept to understand the information that can support the export of Thai fruits. The study provides recommendations for information that will assist stakeholders in the supply chain in supporting the export of Thai fruits to China, aiming to eliminate time and cost related obstacles and enhance operational efficiency, ultimately leading to the delivery of valuable products to end customers and increasing Thailand's competitive advantage. The study found that the operations of fruit orchard farmers should focus on activities such as harvesting, yield forecasting, selling, documentation, record-keeping, risk management, identifying problems and obstacles, and providing recommendations. The operations of middlemen/packing house were divided into activities including procurement, exporting to China, documentation, record-keeping, risk management, identifying problems and obstacles, and providing recommendations. Transport operators/agents' operations included activities such as providing transportation services, customs clearance, information systems usage, transportation modes, export documentation, control of goods in transit, transportation costs, transit time to end customers, shipment tracking, return trip management, insurance, risk management, identifying problems and obstacles, and providing recommendations. The end customers or fruit importers from Thailand involved purchasing fruits from Thailand, order tracking, payment processing, risk management, identifying problems and obstacles, and providing recommendations. The researcher has proposed information that supports the export of Thai fruits to China throughout the supply chain, and for each unit within the supply chain to use the information from this study as a guideline for developing cross-border trade of Thai fruits. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การศึกษาสารสนเทศที่สนับสนุนห่วงโซ่อุปทานการส่งออกผลไม้ไทยสู่จีน เพื่อเป็นแนวทางพัฒนาการค้าข้ามแดนผลไม้ไทย | en_US |
dc.title.alternative | A Study of supporting information for a thai fruit supply chain exporting to China as a guideline for thai cross-border trade | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | - |
thailis.controlvocab.thash | ผลไม้ -- การส่งออก | - |
thailis.controlvocab.thash | การควบคุมสินค้าคงคลัง | - |
thailis.controlvocab.thash | การบริหารงานโลจิสติกส์ | - |
thailis.controlvocab.thash | จีน -- การค้าระหว่างประเทศ -- ไทย | - |
thailis.controlvocab.thash | ไทย -- การค้าระหว่างประเทศ -- จีน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสารสนเทศที่สนับสนุนการส่งออกผลไม้ไทยไปประเทศจีนตลอดทั้งห่วงโซ่อุปทาน และเพื่อใช้ข้อมูลสารสนเทศที่ศึกษาเป็นแนวทางพัฒนาการค้าข้ามแดนผลไม้ไทย การศึกษานี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ ดำเนินการโดยวางแผนการศึกษาวิจัยแล้ว เก็บข้อมูลโดยสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างที่อยู่ในห่วงโซ่อุปทานการส่งออกผลไม้ไทยไปประเทศจีน จำนวน 20 ราย ได้แก่ เกษตรกรชาวสวนผลไม้ จำนวน 10 ราย พ่อค้าคนกลาง/ล้ง (โรงคัดบรรจุ) จำนวน 4 ราย ผู้ประกอบการขนส่ง/ตัวแทนขนส่ง จำนวน 4 ราย และลูกค้าปลายทางที่อยู่ประเทศจีน จำนวน 2 ราย จากนั้นนำผลการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์โดยใช้แบบจำลอง SCOR Model และแนวคิดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) เพื่อทำความเข้าใจกับสารสนเทศที่จะช่วยสนับสนุนการส่งออกผลไม้ไทย แล้วเสนอแนะสารสนเทศที่จะสนับสนุนการส่งออกผลไม้ไทยไปประเทศจีนให้แก่ผู้ที่เกี่ยวข้องในห่วงโซ่อุปทาน เพื่อขจัดปัญหาที่เป็นอุปสรรคทางด้านเวลา และต้นทุน ให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพสูงสุด นำไปสู่การส่งมอบผลผลิตที่มีคุณค่าแก่ลูกค้าปลายทาง อันเป็นการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย ผลการศึกษาพบว่าการดำเนินงานของเกษตรกรชาวสวนผลไม้ที่ต้องให้ความสำคัญแบ่งเป็นกิจกรรม ได้แก่ เก็บเกี่ยวผลผลิต พยากรณ์ผลผลิต จำหน่ายผลผลิต เอกสารประกอบการจำหน่ายผลผลิต การบันทึกข้อมูล ความเสี่ยง ปัญหาและอุปสรรค และข้อเสนอแนะ การดำเนินงานของพ่อค้าคนกลาง/ล้ง (โรงคัดบรรจุ) แบ่งเป็นกิจกรรม ได้แก่ การจัดซื้อจัดหา การส่งออกไปจีน เอกสารประกอบการส่งออก การบันทึกข้อมูล ความเสี่ยง ปัญหาและอุปสรรค และข้อเสนอแนะ การดำเนินงานของผู้ประกอบการขนส่ง/ตัวแทนขนส่ง แบ่งเป็นกิจกรรม ได้แก่ ให้บริการขนส่งและดำเนินพิธีการทางศุลกากร ระบบสารสนเทศที่ใช้ รูปแบบการขนส่ง เอกสารประกอบการส่งออก การควบคุมสินค้าระหว่างขนส่ง ต้นทุนการขนส่ง ระยะเวลาในการขนส่งผลไม้ไทยไปถึงลูกค้าปลายทาง การติดตามการขนส่งและการจัดการรถเที่ยวกลับ การประกันภัย ความเสี่ยง ปัญหา และอุปสรรค และข้อเสนอแนะ การดำเนินงานของลูกค้าปลายทางหรือผู้ซื้อผลไม้ แบ่งเป็นกิจกรรม ได้แก่ ซื้อผลไม้จากประเทศไทย การติดตามคำสั่งซื้อ การจ่ายชำระเงิน ความเสี่ยง ปัญหาและอุปสรรค และข้อเสนอแนะ ดังนั้น ผู้วิจัยจึงได้นำเสนอสารสนเทศที่สนับสนุนการส่งออกผลไม้ไทยไปประเทศจีนตลอดทั้งห่วงโซ่อุปทาน และเพื่อให้ผู้อยู่ในแต่ละหน่วยในห่วงโซ่อุปทานใช้ข้อมูลสารสนเทศที่ศึกษานี้ เป็นแนวทางพัฒนาการค้าข้ามแดนผลไม้ไทย | en_US |
Appears in Collections: | CAMT: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
652132045 - มัทธกานต์ ปาลี.pdf | 2.36 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.