Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80137
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิสิษฏ์ นาสี | - |
dc.contributor.advisor | ออมสิน จตุพร | - |
dc.contributor.author | นิดา เปี้ยวงค์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-11-05T02:02:59Z | - |
dc.date.available | 2024-11-05T02:02:59Z | - |
dc.date.issued | 2024-09-13 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80137 | - |
dc.description.abstract | This thesis aimed to 1) create the Living with the Dam: Local Curriculum using a community-Based approach and 2) promote community participation in the development of the Living with the Dam: Local Curriculum, through Participatory Action Research (PAR) and conducted fieldwork to understand the context and lifestyle of the community in Kor Subdistrict. Data collection tools included field notes, community survey records in Kor Subdistrict. The study area comprised Kor Subdistrict and BanKorjudsan School. Focus group discussions were held with members of the primary school committee at BanKorjudsan School, teachers of grades 4-6, and individuals with experience and knowledge about the Kor Subdistrict community. Using focus group records and meeting notes, it was found that the participants agreed on the necessity of a local curriculum. The curriculum was developed collaboratively by the villagers of Kor Subdistrict to align with the concepts and principles they deemed essential for the survival and sustainability of their local members. Consisting of Living with the Dam: Local Curriculum, Grade 4, 3 learning units. Grade 5, 2 learning units and Grade 6, 2 learning units. This thesis promoting community participation in the development of Living with the Dam: Local Curriculum, BanKorjudsan School provided opportunities for the community to engage in various school activities. The researcher fostered relationships between the school and the community through dialogue facilitated by meetings of the Basic Education Committee, ensuring mutual understanding and smooth cooperation. The collaboration between BanKorjudsan School and the Kor Subdistrict community led to successful cooperation in creating the Living with the Dam: Local Curriculum. All parties, including community members, the school committee, the school director, teachers, and students, contributed their ideas to the design of the learning process, culminating in the successful creation of this local curriculum. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น วิถีชนคนเหนือเขื่อน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา | en_US |
dc.title.alternative | Development of Living with the Dam: Local Curriculum for Primary School Students | en_US |
dc.type | Thesis | - |
thailis.controlvocab.thash | โรงเรียนบ้านก้อจัดสรร (ลำพูน) | - |
thailis.controlvocab.thash | การศึกษา -- หลักสูตร | - |
thailis.controlvocab.thash | การศึกษาชุมชน -- ลำพูน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) สร้างหลักสูตรท้องถิ่นวิถีชนคนเหนือเขื่อน โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน และ 2) เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการสร้างหลักสูตรท้องถิ่น วิถีชนคนเหนือเขื่อนผ่านกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research) โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากการลงพื้นที่ศึกษาบริบทชุมชน วิถีชีวิตของคนชุมชนตำบลก้อ ใช้แบบบันทึกข้อมูลภาคสนาม แบบบันทึกการสำรวจชุมชน แบบสำรวจศักยภาพและทุนทางสังคมในพื้นที่เทศบาลตำบลก้อ สถานที่ที่ใช้ศึกษา ได้แก่ ชุมชนตำบลก้อและโรงเรียนบ้านก้อจัดสรร จากนั้นทำการสนทนากลุ่มร่วมกับคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านก้อจัดสรรคณะครูช่วงชั้นที่ 2 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4–6 และผู้ที่มีประสบการณ์ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับชุมชนตำบลก้อ โดยใช้แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม แบบบันทึกการประชุม ข้อค้นพบหลัก คือ ได้หลักสูตรท้องถิ่นวิถีชนคนเหนือเขื่อนโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ที่ชาวบ้านในชุมชนตำบลก้อร่วมกันสร้างเพื่อให้เป็นไปตามแนวคิดและหลักการที่ชาวบ้านให้ความสำคัญเห็นว่าเป็นความจำเป็นที่สมาชิกของท้องถิ่นจะต้องเรียนรู้เพื่อความอยู่รอดและความยั่งยืน ประกอบด้วยหลักสูตรท้องถิ่นวิถีชนคนเหนือเขื่อนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 3 หน่วยการเรียนรู้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 2 หน่วยการเรียนรู้ และชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 2 หน่วยการเรียนรู้ วิทยานิพนธ์นี้เน้นส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการสร้างหลักสูตรท้องถิ่นวิถีชนคนเหนือเขื่อน โรงเรียนบ้านก้อจัดสรรได้เปิดโอกาสให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานกิจกรรมต่างๆของโรงเรียน โรงเรียนและชุมชนมีความเข้าใจซึ่งกันและกันสามารถปฏิบัติงานร่วมกันอย่างราบรื่น จากการมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียนบ้านก้อจัดสรรกับชุมชนตำบลก้อทำให้เกิดความร่วมมือในการสร้างหลักสูตรท้องถิ่นวิถีชนคนเหนือเขื่อน เป็นหลักสูตรที่ชาวบ้านในชุมชนตำบลก้อ คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้อำนวยการโรงเรียน ครู และนักเรียนร่วมกันสร้างหลักสูตรท้องถิ่นวิถีชนคนเหนือเขื่อนนี้ขึ้นมาได้จนสำเร็จ | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
630232011 ว่าที่ ร.ต.หญิงนิดา เปี้ยวงค์.pdf | 17.68 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.