Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80092
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุภารัตน์ วังศรีคูณ | - |
dc.contributor.advisor | นัทธมน วุทธานนท์ | - |
dc.contributor.author | ธัญญาลักษณ์ อภิชัย | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-10-11T11:36:15Z | - |
dc.date.available | 2024-10-11T11:36:15Z | - |
dc.date.issued | 2566-07-19 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80092 | - |
dc.description.abstract | Wound cleansing is an essential procedure to decrease the likelihood of wound infection. This quasi-experimental research aimed to examine the effects of wound irrigation using a pressure-controlled technique on wound infection and satisfaction towards wound cleansing among persons with laceration wounds. The participants included 58 persons with laceration wounds receiving care at an emergency room. There were 29 participants each in the control group and the experimental group. The participants in both groups were matched by wound cause, wound size, wound location, age, history of diabetes mellitus, history of cancer, smoking, and receiving of antibiotics. The research instrument was the pressure-controlled wound irrigation equipment developed by Bussa et al. (2017). The data collection instruments were the Lacerated Wound Infection Evaluation Form developed by Bussa et al. (2017) and the Satisfaction Towards Wound Cleansing Evaluation Form developed by the researcher. The Satisfaction Towards Wound Cleansing Evaluation Form was evaluated for validity by five experts yielding an index of item-objective congruence between 0.80-1.00. It was checked for its test-retested reliability, yielding a Pearson’s correlation coefficient of 0.82. Data were analyzed using descriptive statistics, the Mann-Whitney U test, and the Fisher Exact Probability test. The results revealed that: 1. The wound infections among the experimental group were statistically significantly lower than those of the control group (p <.05). None of the participants in the control group had wound infection, while six participants in the experimental group (20.69%) had wound infection. 2. The satisfactions towards wound cleansing among the experimental group (mean = 4.97, S.D. = 0.19) were statistically significantly her than those of the control group (mean = 4.72, S.D.= 0.53) (p <.05). The results of this study reveal that wound irrigation using pressure-controlled technique can reduce wound infection and increase satisfaction towards wound cleansing among persons with a laceration wound. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การสวนล้างแผล | en_US |
dc.title | ผลของการสวนล้างแผลโดยใช้เทคนิคควบคุมแรงดันต่อการติดเชื้อของแผลและความพึงพอใจต่อการทำความสะอาดแผลในผู้มีแผลฉีกขาด | en_US |
dc.title.alternative | Effects of wound irrigation using pressure controlled technique on wound infection and satisfaction towards wound cleansing among persons with laceration wounds | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | บาดแผลและบาดเจ็บ | - |
thailis.controlvocab.thash | บาดแผลและบาดเจ็บ -- การทำความสะอาด | - |
thailis.controlvocab.thash | บาดแผลและบาดเจ็บ -- การรักษา | - |
thailis.controlvocab.thash | บาดแผลและบาดเจ็บ -- การติดเชื้อ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การทำความสะอาดแผลฉีกขาดเป็นขั้นตอนที่จำเป็นในการลดโอกาสติดเชื้อของแผล การวิจัย กึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการสวนล้างแผลโดยใช้เทคนิคควบคุมแรงดันต่อการ ติดเชื้อของแผลและความพึงพอใจต่อการทำความสะอาดแผลในผู้มีแผลฉีกขาด กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้มี แผลฉีกขาดที่มารับบริการที่งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน จำนวน 58 คน แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่ม ทดลองกลุ่มละ 29 คน โดยการจับคู่สาเหตุการเกิดแผล ขนาดของแผล ตำแหน่งของแผล อายุ ประวัติ โรคเบาหวาน ประวัติโรคมะเร็ง การสูบบุหรี่ และการได้รับยาปฏิชีวนะ เครื่องมือที่ใช้ในการ ดำเนินการวิจัย ได้แก่ อุปกรณ์การสวนล้างแผลโดยใช้เทคนิคควบคุมแรงดันที่พัฒนาขึ้น โดยวิภาณี บุสษา และคณะ (2560) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมินการติดเชื้อของ แผลฉีกขาดของวิภาณี บุสษา และคณะ (2560) และแบบประเมินความพึงพอใจต่อการทำความสะอาด แผลที่พัฒนาโดยผู้วิจัย นำไปตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ได้ค่าดัชนีความ สอดคล้องของข้อคำถามกับวัตถุประสงค์ (index of item-objective congruence) 0.80-1.00 ตรวจสอบความเชื่อมั่นแบบทดสอบซ้ำ ได้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันเท่ากับ 0.82 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติแมนวิทนีย์ยู และสถิติฟิชเชอร์ ผลการวิจัยพบว่า 1. การติดเชื้อของแผลของกลุ่มทดลองน้อยกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) โดยกลุ่มตัวอย่างในกลุ่มทดลองไม่มีการติดเชื้อของแผล และกลุ่มตัวอย่างในกลุ่มควบคุมมีการ ติดเชื้อของแผล 6 คน (ร้อยละ 20.69) 2. ความพึงพอใจต่อการทำความสะอาดแผลของกลุ่มทดลอง (mean = 4.97, S.D.= 0.19) สูงกว่ากลุ่มควบคุม (mean = 4.72, S.D. = 0.53) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า การทำความสะอาดแผลด้วยวิธีการสวนล้างแผลโดยใช้ เทคนิคควบคุมแรงดัน สามารถลดการติดเชื้อของแผลและเพิ่มความพึงพอใจต่อการทำความสะอาด แผลในผู้มีแผลฉีกขาดได้ | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631231092 ธัญญาลักษณ์ อภิชัย.pdf | 2.35 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.