Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80089
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐธยาน์ สุวรรณคฤหาสน์-
dc.contributor.advisorกาญจนา ธานะ-
dc.contributor.authorธีรนัย ส่งพิมายen_US
dc.date.accessioned2024-10-11T10:34:54Z-
dc.date.available2024-10-11T10:34:54Z-
dc.date.issued2024-08-30-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80089-
dc.description.abstractUncontrolled diabetes in elderly patients requires effective self-management strategies involving both the patients and their families. This experimental study aimed to examine the effects of an Individual and Family Self-Management Promotion Program on self-management behaviors and Hemoglobin A1C Levels in elderly patients with uncontrolled diabetes. A total of 52 elderly diabetic patients were randomly selected from community health centers and sub-district health-promoting hospitals in San Sai District, Chiang Mai Province. The participants were randomly assigned to either an experimental group (26 participants) or a control group (26 participants). The experimental group participated in the Individual and Family Self-Management Promotion Program, which included five sessions over four weeks. The control group received standard care. The tools used in the study included the Individual and Family Self-Management Promotion Program and various data collection instruments such as general information questionnaires, self-management behavior questionnaires for diabetic patients, and hemoglobin A1C levels tests. Data were analyzed using descriptive statistics, independent t-tests, paired t-tests, chi-square and McNemar tests. The results of the study found that the mean self-management behavior scores of elderly diabetic patients in the experimental group significantly increased after participating in the self-management promotion program (p < .001) compared to before the program and to the control group (p < .001). The proportion of elderly patients who could control their blood glucose levels after participating in the program was significantly higher than before the program (p < .001) and compared to the control group (p < .001). This study demonstrates the effectiveness of the Individual and Family Self-Management Promotion Program in enhancing self-management behaviors and reducing hemoglobin A1C levels in elderly patients with uncontrolled diabetes. Health professionals can apply this program to improve these behaviors in this population, thereby reducing Hemoglobin A1C levels and preventing complications associated with uncontrolled diabetes.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของโปรแกรมการส่งเสริมการจัดการตนเองของบุคคลและครอบครัวต่อพฤติกรรมการจัดการตนเองและระดับน้ำตาลสะสมในเลือดในผู้สูงอายุเบาหวานที่ควบคุมไม่ได้en_US
dc.title.alternativeEffects of an individual and family self-management promotion program on self-management behaviors and Hemoglobin A1C Level among older persons with uncontrolled diabetes mellitusen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashเบาหวาน -- ผู้ป่วย -- การดูแล-
thailis.controlvocab.thashเบาหวาน -- ภาวะแทรกซ้อน-
thailis.controlvocab.thashเบาหวาน -- ผู้ป่วย -- สุขภาพและอนามัย-
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ -- สุขภาพและอนามัย-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractโรคเบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ในผู้สูงอายุต้องได้รับการส่งเสริมให้มีการจัดการตนเองที่ดีร่วมกันระหว่างผู้สูงอายุและครอบครัว การวิจัยเชิงทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริมการจัดการตนเองของบุคคลและครอบครัวต่อพฤติกรรมการจัดการตนเองและระดับน้ำตาลสะสมในเลือดในผู้สูงอายุเบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ กลุ่มตัวอย่างจำนวน 52 ราย คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยการสุ่มอย่างง่าย จากผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่มารับบริการที่ศูนย์สุขภาพชุมชนและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล ในอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ สุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 26 ราย กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการส่งเสริมการจัดการตนเองของบุคคลและครอบครัว แบบรายกลุ่มย่อยและรายครอบครัวจำนวน 5 ครั้ง ระยะเวลารวม 4 สัปดาห์ กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ โปรแกรมการส่งเสริมการจัดการตนเองของบุคคลและครอบครัว เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลของผู้สูงอายุและครอบครัว แบบสอบถามพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วยเบาหวาน และตรวจวัดระดับน้ำตาลสะสมในเลือด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณา การทดสอบทีแบบอิสระ การทดสอบทีแบบไม่เป็นอิสระ การทดสอบไคสแควร์ และการทดสอบแมคนีมาร์ ผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุเบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ที่เข้าร่วมโปรแกรมการส่งเสริมการจัดการตนเองของบุคคลและครอบครัวสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมการส่งเสริมการจัดการตนเองของบุคคลและครอบครัวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001)และมีค่าคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมสูงกว่าผู้สูงอายุเบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ที่ได้รับการดูแลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) สัดส่วนของจำนวนผู้สูงอายุที่ควบคุมระดับน้ำตาลสะสมในเลือดได้ตามเกณฑ์หลังเข้าร่วมโปรแกรมการส่งเสริมการจัดการตนเองของบุคคลและครอบครัวมากกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมการส่งเสริมการจัดการตนเองของบุคคลและครอบครัวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) และมีจำนวนมากกว่าผู้สูงอายุเบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ที่ได้รับการดูแลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) ผลการศึกษาในครั้งนี้แสดงถึงประสิทธิผลของโปรแกรมการส่งเสริมการจัดการตนเองของบุคคลและครอบครัว สามารถช่วยเพิ่มพฤติกรรมการจัดการตนเองที่สูงขึ้น และส่งผลให้ระดับน้ำตาลสะสมในเลือดลดลง ดังนั้นบุคลาการทางด้านสุขภาพสามารถนำโปรแกรมการส่งเสริมการจัดการตนเองของบุคคลและครอบครัวไปประยุกต์ใช้ในการส่งเสริมการจัดการตนเองเพื่อให้ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการจัดการตนเองที่ดีขึ้น ส่งผลให้ระดับน้ำตาลสะสมในเลือดลดลงและลดภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากการที่ควบคุมโรคเบาหวานไม่ได้en_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
651231101ธีรนัย ส่งพิมาย.pdf3.39 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.