Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80079
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนทัต อัศภาภรณ์-
dc.contributor.advisorสมเกียรติ อินทสิงห์-
dc.contributor.authorณัฎฐภรณ์ นามวงค์en_US
dc.date.accessioned2024-10-07T12:01:26Z-
dc.date.available2024-10-07T12:01:26Z-
dc.date.issued2567-07-27-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80079-
dc.description.abstractThe purpose of this study was to compare of early childhood student’s the executive function skills before and after by using the process art activities. The population was 39 early childhood students in K3. The tools used in the study were 1) 15 the process art activities lesson plans totally 15 hours, and 2) the observation form of the executive function skills (6 skills) of the early childhood students with scoring rubric guide. The data were analyzed by means, standard deviations and development percentage score. Moreover, data were analyzed by content analysis and descriptive explanation. The result of this study were the executive function skills of early childhood students after using the process art activities was a good level, which was 32.53 higher than before using the process art activities, which was 22.92 and the development score was 72.46, which was at the high level. Including, the early childhood students’ reflective behaviors six sub-skills of the executive function skills.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectทักษะสมองเพื่อชีวิตen_US
dc.subjectทักษะสมองen_US
dc.subjectกิจกรรมศิลปะen_US
dc.titleการใช้กิจกรรมศิลปะที่เน้นกระบวนการในการพัฒนาทักษะสมองเพื่อชีวิตที่สำเร็จสำหรับเด็กปฐมวัยen_US
dc.title.alternativeUsing the process art activities to develop the executive function for early childhood studentsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashโรงเรียนวัดสันป่าค่า-
thailis.controlvocab.thashการคิดเชิงบริหาร (ประสาทจิตวิทยา)-
thailis.controlvocab.thashทักษะชีวิต-
thailis.controlvocab.thashศิลปะ -- การศึกษาและการสอน (ปฐมวัย)-
thailis.controlvocab.thashการศึกษาปฐมวัย-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบทักษะสมองเพื่อชีวิตที่สำเร็จของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังเรียนโดยใช้กิจกรรมศิลปะที่เน้นกระบวนการ โดยมีประชากรในการศึกษา คือ เด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปีที่ 3 จำนวน 39 คน ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ 1) แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมศิลปะที่เน้นกระบวนการ จำนวน 15 แผน 15 ชั่วโมง และ 2) แบบสังเกตพฤติกรรมทักษะสมองเพื่อชีวิตที่สำเร็จสำหรับเด็กปฐมวัย และรูบริกส์การให้คะแนนพฤติกรรมทักษะสมองเพื่อชีวิตที่สำเร็จ โดยแบ่งออกเป็น 6 ทักษะ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ คะแนนร้อยละพัฒนาการ รวมทั้งการวิเคราะห์เนื้อหา สังเคราะห์ประเด็น และการบรรยายพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า ทักษะสมองเพื่อชีวิตที่สำเร็จของเด็กปฐมวัยหลังจัดกิจกรรมศิลปะที่เน้นกระบวนการ โดยภาพรวมอยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ยรวม 32.53 สูงกว่าก่อนการใช้กิจกรรมศิลปะที่เน้นกระบวนการที่อยู่ระดับพอใช้ มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 22.92 และมีค่าร้อยละพัฒนาการเท่ากับ 72.46 จัดว่ามีพัฒนาการในระดับสูง รวมทั้งพบว่า เด็กปฐมวัยมีพฤติกรรมสะท้อนทักษะสมองเพื่อชีวิตที่สำเร็จทั้ง 6 ทักษะย่อยen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640232027-ณัฏฐภรณ์ นามวงค์.pdf5.12 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.