Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80077
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวริษา นาคเขียว-
dc.contributor.authorศิริพรรณ คิดการงานen_US
dc.date.accessioned2024-10-06T09:49:14Z-
dc.date.available2024-10-06T09:49:14Z-
dc.date.issued2567-07-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80077-
dc.description.abstractThis is research to study the problem of the case study company, a spices and dried herb manufacturer as well as distributor. The company was underdoing the problem of inventory management, i.e., imbalance between the value of inventory and sales volume in some durations. Therefore, guidelines for solutions/improvement were required, with the objective to reduce the total cost of inventory management. Research implementation process started from finished product categorization based on ABC Analysis in order to categorize these products by sales volume. Then, the products were sorted out into each particular item of raw materials. Those used for manufacturing of finish products in Group A were categorized into raw materials of Group A too, because they were considered as coming from finish products with high sales volume. In case of a constant demand for raw materials in Group A, EOQ (Economic order quantity) purchase policy would be used. On the contrary, in case of an inconstant demand for raw materials in Group A, heuristic purchase policy would be used instead. In this research, 2 types of purchase policy were used for comparison, i.e., Silver – Meal and Newsboys Model. The one that could generate maximum cost reduction would be selected. As for raw materials in Group B and Group C with the small value, Two – Bin was used. After analyzing all 68 items of disbursed raw materials, followed by improvement using the appropriate ordering policy based on the data between August 2021 – July 2024, it was found that in Group A, consisting of 36 items, 31 items were managed with an Economic order quantity policy, and 5 items were managed with the Silver – Meal policy. In Groups B and C, totaling 32 items, a two-bin system policy was used. Following the improvements, the total cost was reduced from 2,399,422.23 baht to 1,528,115 baht, which is a decrease of 871,306.99 baht or a reduction of 36%.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectInventoryen_US
dc.subjectนโยบายการสั่งซื้อen_US
dc.titleการหานโยบายการสั่งซื้อที่เหมาะสมสำหรับวัตถุดิบเครื่องเทศและสมุนไพรอบแห้งen_US
dc.title.alternativeDetermining appropriate ordering policy for raw materials of spices and dried herbsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการควบคุมสินค้าคงคลัง-
thailis.controlvocab.thashสินค้าคงคลัง-
thailis.controlvocab.thashการจัดการวัสดุ-
thailis.controlvocab.thashเครื่องเทศ-
thailis.controlvocab.thashอุตสาหกรรมเครื่องเทศ-
thailis.controlvocab.thashสมุนไพร -- การอบแห้ง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยฉบับนี้เป็นการศึกษาปัญหาของบริษัทกรณีศึกษา ซึ่งเป็นบริษัทที่ผลิตและจัดจำหน่ายเครื่องเทศสมุนไพรอบแห้ง ที่กำลังประสบปัญหาในด้านการจัดการสินค้าคงคลัง คือมีมูลค่าของสินค้าคงคลังที่ไม่สมดุลกับมูลค่ายอดขายในบางช่วงเวลา จึงต้องหาแนวทางในการปรับปรุงแก้ไข โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดต้นทุนรวมในการจัดการสินค้าคงคลัง ขั้นตอนในการดำเนินงานวิจัยเริ่มจากการแบ่งกลุ่มสินค้าสำเร็จรูปโดยใช้ ทฤษฎี ABC Analysis เพื่อจัดหมวดหมู่ของสินค้าสำเร็จรูปตามมูลค่าของยอดขาย หลังจากแบ่งหมวดหมู่แล้ว จึงนำสินค้ามาจำแนกออกเป็นวัตถุดิบแต่ละรายการโดยวัตถุดิบที่ใช้ผลิตสินค้าสำเร็จรูปในกลุ่ม A จะถูกจัดกลุ่มเป็นวัตถุดิบในกลุ่ม A ด้วยเช่นกัน เนื่องจากเป็นวัตถุดิบที่มาจากสินค้าสำเร็จรูปที่มีมูลค่ายอดขายสูง สำหรับวัตถุดิบในกลุ่ม A ในกรณีที่มีความต้องการที่คงที่จะกำหนดนโยบายการสั่งซื้อโดยเลือกใช้นโยบายการสั่งซื้อแบบประหยัด (Economic Order Quantity, EOQ) ในทางตรงกันข้ามหากวัตถุดิบในกลุ่ม A นั้นมีความต้องการที่ไม่คงที่จะเลือกใช้นโยบายการสั่งซื้อแบบฮิวริสติกต์ ซึ่งในงานวิจัยนี้เลือกใช้สองนโยบายในการเปรียบเทียบกัน คือนโยบายการสั่งซื้อแบบซิวเวอร์มีล (Silver – Meal) และนโยบายการสั่งซื้อแบบนิวส์บอย (Newsboys Model) โดยจะเลือกใช้นโยบายที่สามารถลดต้นทุนได้มากที่สุด สำหรับวัตถุดิบในกลุ่ม B และ กลุ่ม C ที่มีมูลค่าน้อยเลือกใช้นโยบายการสั่งซื้อระบบสองถัง (Two – Bin) หลังจากการนำข้อมูลการเบิกใช้วัตถุดิบทั้งหมด 68 รายการ มาวิเคราะห์และทำการปรับปรุงด้วยนโยบายการสั่งซื้อที่เหมาะสม โดยใช้ข้อมูลตั้งแต่เดือน สิงหาคม 2564 จนถึงเดือน กรกฎาคม 2567 พบว่าวัตถุดิบกลุ่ม A จำนวน 36 รายการ ใช้นโยบายการสั่งซื้อแบบประหยัด 31 รายการ และใช้นโยบายซิวเวอร์มีล 5 รายการ วัตถุดิบในกลุ่ม B และ C จำนวน 32 รายการ ใช้นโยบายการสั่งซื้อระบบสองถัง หลังการปรับปรุงสามารถลดต้นทุนรวมลงจาก 2,399,422.23 บาท เหลือ 1,528,115 บาท ซึ่งลดลงถึง 871,306.99 บาท หรือลดลงร้อยละ 36en_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
660632052-ศิริพรรณ คิดการงาน.pdf2 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.