Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80065
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Thanee Kaewthummanukul | - |
dc.contributor.advisor | Decha Tamdee | - |
dc.contributor.advisor | Jutamas Chotibang | - |
dc.contributor.author | Ruksanudt Budda | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-09-30T00:27:16Z | - |
dc.date.available | 2024-09-30T00:27:16Z | - |
dc.date.issued | 2024-07-22 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80065 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this correlation-prediction study is to examine the predictability of parental screen time, attitudes, mediation, household chaos, and socioeconomic status on excessive smartphone use among preschoolers, based on the Interactional Theory of Childhood Problematic Media Use (IT-CPU) by Domoff et al. (2020). The study included 647 family caregivers of preschool children from Chiang Mai, Udon Thani, and Nakorn Sri Thammarat provinces, selected using multi-stage sampling. Data were collected using a questionnaire which contained six parts: Demographic data; Parental Screen Time; Parent Attitudes; Parental Mediation; Home Chaos Environment; and SCREENS-Q. Data were analyzed with descriptive statistics, Spearman’s rank correlation, and binary logistic regression. The results revealed that educational level, average family income, occupational status, parental screen time on weekdays and weekends, parent mediation, and affective attitude showed mild to moderate positive associations with excessive smartphone use in preschool children, with significance (p < .05). However, behavioral attitudes exhibited a mild negative correlation with excessive smartphone use among preschoolers (p < .05). In addition, household chaos showed no relationship with excessive smartphone use. At a 95% CI interval, the final model showed that the remaining significant predictors included: education (OR = 1.151, p < .014), parental screen time on weekdays (OR = .997, p < .029), parental screen time on weekends (OR = 1.004, p < .042), and affective attitude (OR = 1.063, p < .015). The model predictability was 56.10%. This study can guide the design of further studies to explore additional factors related to excessive smartphone use in preschoolers. Additionally, the results can inform pediatric and community nursing interventions aimed at preventing excessive smartphone use and potential smartphone addiction among preschoolers. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | Predicting factors of excessive smartphone use of Thai preschool children as perceived by family caregivers | en_US |
dc.title.alternative | ปัจจัยทำนายการใช้สมาร์ตโฟนเกินของเด็กไทยวัยก่อนเรียน ตามการรับรู้ของผู้ดูแลในครอบครัว | en_US |
dc.type | Thesis | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Smartphones and children | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Child care | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Child rearing | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Smartphones | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาความสัมพันธ์เชิงทำนายนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสามารถในการทำนายของการใช้เวลาหน้าจอของผู้ดูแล ทัศนคติของผู้ดูแล การควบคุมดูแลการใช้สมาร์ตโฟนของบุตรหลาน สภาพแวดล้อมที่สับสนวุ่นวายในบ้าน เศรษฐานะของครอบครัว ต่อการใช้สมาร์ตโฟนเกินในเด็กวัยก่อนเรียน โดยใช้ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์ของการใช้สื่อที่เป็นปัญหาในวัยเด็ก ของโดมอฟ และคณะ (2020) เป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลในครอบครัวของเด็กวัยก่อนเรียน จำนวน 647 คน ในเขตจังหวัดเชียงใหม่ อุดรธานี และนครศรีธรรมราช กลุ่มตัวอย่างคัดเลือกโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน ดำเนินการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประกอบด้วย 6 ส่วน ได้แก่ 1) ข้อมูลทั่วไป 2) ระยะเวลาหน้าจอของผู้ดูแล 3) ทัศนคติของผู้ดูแลต่อการใช้สมาร์ตโฟนในเด็ก 4) การควบคุมดูแลการใช้สมาร์ตโฟนของบุตรหลาน 5) สภาพแวดล้อมที่สับสนวุ่นวายที่บ้าน และ 6) การใช้สมาร์ตโฟนของเด็ก วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติสหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน และสถิติการถดถอยลอจิสติก ผลการศึกษา พบว่า ระดับการศึกษา รายได้โดยเฉลี่ยของครอบครัว การประกอบ การใช้หน้าจอในวันธรรมดาและวันหยุดสุดสัปดาห์ อาชีพ การควบคุมดูแลแบบจำกัด และเจตคติค่านิยมของผู้ดูแล มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับต่ำถึงปานกลางกับการใช้สมาร์ตโฟนเกินในเด็กวัยก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) เจตคติเชิงพฤติกรรมของผู้ดูแล มีความสัมพันธ์ทางลบในระดับต่ำกับการใช้สมาร์ตโฟนเกินของเด็กวัยก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <.05) ส่วนสภาพแวดล้อมภายในบ้านไม่มีความสัมพันธ์กับการใช้สมาร์ตโฟนเกินของเด็กวัยก่อนเรียน การวิเคราะห์สถิติการถดถอยลอจิสติกที่ระดับความเชื่อมั่น ร้อยละ 95 แสดงให้เห็นว่า ปัจจัยที่มีความสามารถทำนายการใช้สมาร์ตโฟนเกินในเด็กวัยก่อนเรียน ได้แก่ ระดับการศึกษาของผู้ดูแล (OR=11.151, p< .014) ระยะเวลาการใช้หน้าจอของผู้ดูแลในวันธรรมดา (OR=0.997, p<.029) ระยะเวลาการใช้หน้าจอของผู้ดูแลในวันหยุดสุดสัปดาห์ (OR=1.00, p<.0424) และเจตคติค่านิยม (OR=1.063, p<.015) โดยสมการให้ค่าความสามารถของการทำนาย ร้อยละ 56.10 ผลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้ สามารถนำไปเป็นแนวทางการศึกษาตัวแปรอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการใช้สมาร์ทโฟนเกินในเด็กวัยก่อนเรียน ตลอดจนนำไปใช้ในการปฏิบัติทางการพยาบาลเพื่อป้องกันการใช้สมาร์ตโฟนเกินและการเสพติดสมาร์ตโฟนในเด็กวัยก่อนเรียนต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
611251015_รักษณัฎฐ์ บุดดา.pdf | Predicting Factors of Excessive Smartphone Use of Thai Preschool Children as Perceived by Family Caregivers | 2.74 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.