Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80052
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศักดา สวาทะนันทน์ | - |
dc.contributor.advisor | นทัต อัศภาภรณ์ | - |
dc.contributor.author | วรัญญา ต๋าใจ | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-09-23T00:51:46Z | - |
dc.date.available | 2024-09-23T00:51:46Z | - |
dc.date.issued | 2024-08 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80052 | - |
dc.description.abstract | Effects of Using Activity-Based Learning Model to Develop Scientific Concepts and Teamwork Collaboration Competency for Grade 5 Students. The objectives are to 1) compare the science concepts of Grade 5 students before and after learning using activity-based learning. 2) compare the teamwork performance of Grade 5 students during learning using activities. activity based. The population used in this study is primary school students. 5 Ban Wang Lung School (Phet Prachanukroh) Semester 1, academic year 2024, number of 15 people. The tools used in the study include: 9 activity-based learning plans, science concept test and teamwork competency assessment form. Data were analyzed using percentages. arithmetic mean standard deviation and relative developmental scores The results of the study found that 1) The scientific concepts of students who used activity-based learning management were higher after studying than before studying. and has developed at a high level with a developmental percentage score of 70.10 2) Teamwork ability of students using activity-based learning management. At a level above expectations with an average percentage score of 87.35 | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นกิจกรรมเป็นฐานในการพัฒนามโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์และสมรรถนะการรวมพลังทำงานเป็นทีม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 | en_US |
dc.title.alternative | Effects of using activity-based learning model to develop scientific concepts and teamwork collaboration competency for grade 5 students | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | วิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน | - |
thailis.controlvocab.thash | วิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | - |
thailis.controlvocab.thash | นักเรียน -- การประเมินศักยภาพ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาเรื่อง ผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นกิจกรรมเป็นฐานในการพัฒนา มโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์และสมรรถนะการรวมพลังทำงานเป็นทีมสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลังเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน 2) เปรียบเทียบสมรรถนะการรวมพลังทำงานเป็นทีมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างเรียนโดยใช้กิจกรรมเป็นฐานประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านวังลุง (เพชรประชานุเคราะห์) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567 จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ใช้กิจกรรมเป็นฐาน จำนวน 9 แผน แบบวัดมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ และแบบประเมินสมรรถนะการรวมพลังทำงานเป็นทีม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์ ผลการศึกษาพบว่า 1) มโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่ใช้การจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐานหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และมีพัฒนาการอยู่ในระดับสูง โดยมีคะแนนร้อยละพัฒนาการเท่ากับ 70.10 2) สมรรถนะการรวมพลังทำงานเป็นทีมของนักเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน อยู่ในระดับเหนือความคาดหวัง โดยมีร้อยละของคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 87.35 | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
640232035 วรัญญา ต๋าใจ.pdf | 3.6 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.