Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80046
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนที สุริยานนท์-
dc.contributor.authorนายอภิมุข แสงพรายen_US
dc.date.accessioned2024-09-19T10:29:28Z-
dc.date.available2024-09-19T10:29:28Z-
dc.date.issued2024-08-28-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80046-
dc.description.abstractThe global construction industry significantly contributes to approximately 11% of annual Greenhouse Gas (GHG) emissions. In Thailand, concrete blocks are widely preferred for wall construction due to their affordability, lightweight nature, robust load-bearing capacity, and user-friendly characteristics. Recognizing the environmental impact of concrete blocks necessitates evaluating their carbon footprint. This study focuses on assessing the carbon footprint of concrete blocks, specifically TIS 58-2560, within a one-ton functional unit, using the Life Cycle Assessment (LCA) framework. The investigation spans stages from raw material acquisition to factory production completion. The case study centers on the concrete block production of the 302 Engineer Battalion in Phitsanulok Province. The monitoring period ranges from January 1, 2023, to December 31, 2023, with an impressive annual capacity of 185,791 concrete blocks (19x39x7 cm). Key findings include: 1) One ton of Concrete Blocks has a carbon footprint of 88.51 kgCO2eq; 2) carbon footprint values for raw material acquisition and production and waste disposal stages are 84.78 kgCO2eq and 3.73 kgCO2eq, respectively; 3) the production process with the highest carbon footprint involves mixing raw materials with a mixer, accounting for 1.33 kgCO2eq (44.12%); and 4) cement emerges as the raw material with the highest carbon footprint, contributing 71.42 kgCO2eq (80.69%). This study underscores a crucial strategy for mitigating greenhouse gas emissions in concrete block production—improving the raw material procurement process, with a focus on acquiring materials with a lower carbon footprint, particularly exploring alternatives to the current type of cement used.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ : คอนกรีตบล็อก มอก.58-2560en_US
dc.title.alternativeCarbon footprint of concrete blocks TIS 58-2560en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashคาร์บอนฟุตพริ้นท์ -- พิษณุโลก-
thailis.controlvocab.thashคอนกรีตบล็อก -- พิษณุโลก-
thailis.controlvocab.thashโรงผลิตคอนกรีตบล็อกกองพันทหารช่างที่ 302-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractภาคอุตสาหกรรมก่อสร้างทั่วโลกมีการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gas; GHG) มากถึงร้อยละ 11 ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั่วโลกต่อปี คอนกรีตบล็อก (Concrete Blocks) ถือเป็นวัสดุประเภทก่อผนังที่ได้รับความนิยมอย่างสูงในประเทศไทย เนื่องจากเป็นวัสดุที่มีราคาถูก น้ำหนักเบา รับน้ำหนักได้ดี และใช้งานง่าย เป็นที่แน่ชัดว่าสิ่งแวดล้อม ซึ่งได้รับกระทบจากการผลิตคอนกรีตบล็อกจึงจำเป็นต้องมีการประเมินค่าคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของคอนกรีตบล็อก งานวิจัยนี้จึงทำการประเมินค่าคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของคอนกรีตบล็อก มอก. 58-2560 ในหน่วยหน้าที่การทำงาน (Functional Unit) จำนวน 1 ตัน ตามหลักการประเมินวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ (Life Cycle Assessment; LCA) ขอบเขตการประเมินครอบคลุมตั้งแต่ขั้นตอนการได้มาซึ่งวัตถุดิบจนสิ้นสุดการผลิตในโรงงาน (Cradle to Gate) ผลิตภัณฑ์กรณีศึกษาผลิตโดยโรงผลิตคอนกรีตบล็อกกองพันทหารช่างที่ 302 จ.พิษณุโลก ระยะเวลาติดตามผล คือ วันที่ 1 ม.ค. 2566 จนถึง 31 ธ.ค. 2566 มีกำลังการผลิตคอนกรีตบล็อก ขนาด 19x39x7 ซม.จำนวน 185,791 ก้อนต่อปีการค้นพบสำคัญประกอบด้วย 1) คอนกรีตบล็อก จำนวน 1 ตัน มีค่าคาร์บอนฟุตพริ้นท์ 88.51 กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (kgCO2eq) 2) ขั้นตอนการได้มาซึ่งวัตถุดิบหลัก และขั้นตอนการผลิตและการกำจัดของเสียจากการผลิต มีสัดส่วนค่าคาร์บอนฟุตพริ้นท์ 84.78 kgCO2eq และ 3.73 kgCO2eq ตามลำดับ 3) กระบวนการผลิตที่มีสัดส่วนค่าคาร์บอนฟุตพริ้นท์มากที่สุด ได้แก่ กระบวนการผสมวัตถุดิบด้วยเครื่องโม่ เป็นจำนวน 1.33 kgCO2eq (ร้อยละ 44.12) และ 4) ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ เป็นวัตถุดิบหลักที่มีปริมาณสัดส่วนค่าคาร์บอนฟุตพริ้นท์มากที่สุด คือ 71.42 kgCO2eq (ร้อยละ 80.69) งานวิจัยนี้ระบุแนวทางการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างมีประสิทธิภาพของการผลิตคอนกรีตบล็อก คือ การปรับปรุงกระบวนการจัดหาวัตถุดิบเพื่อให้ได้มาซึ่งวัตถุดิบที่มีค่าคาร์บอนฟุตพริ้นท์น้อยลง โดยเฉพาะการสรรหาวัสดุปูนซีเมนต์ทางเลือกประเภทอื่นen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650632077_อภิมุข แสงพราย.pdf8.26 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.